รอบรู้อาเซียน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำทักทาย ประจำชาติอาเซียน
Advertisements

การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
“IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียน IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียนสู่สังคมโลก”
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
Vietnam.
SINGAPORE.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี
ประวัติความเป็นมาของอาเซียน
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน ธงประจำชาติ ประเทศสมาชิก แบบทดสอบ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
รู้เรื่องอาเซี่ยนมากน้อยเพียงใด
ประชาคมอาเซียน.
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นายสมโพชน์ เหลื่อมล้ำ
จัดทำโดย ด.ญ. เนตรชนก จีระวัตร์ เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. เปมิกา เปสลาพันธ์ ม.1/16 เลขที่ 36
ความสัมพันธ์ไทยกับ อาเซียน 22 ธันวาคม อาเซียน.
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Asean Economics Community : AEC
สมาชิกในอาเซียน.
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
การศึกษาในสังคมอาเซียน
เรื่อง ธงชาติในอาเซียน
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
ความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศ
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
จัดทำโดย ด.ญ. ชนิตา พรหมรักษ์ เลขที่ 17 กลุ่ม 13
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐดนัย เกตุมณี ม.1/3 เลขที่ 3 ด. ช. นวพล ไทยอุส่าห์ ม.1/3 เลขที่ 9 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐดนัย เกตุมณี ม.1/3 เลขที่
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รอบรู้อาเซียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จัดทำโดย นางสาว วราภรณ์ พลโคตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เลขที่ 28 เสนอ คุณครู อรวรรณ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน

มารู้จัก 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนกันเถอะ

สัญลักษณ์อาเซียน รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมวีขาวและสีน้ำเงินรวงข้าว 10 ต้น มัดรวมกันไว้ หมายถึง ประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งในเดียวกันพื้นที่วงกลม สีแดง สีขาว และน้ำเงิน ซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกภาพ มีตัวอักษรคำว่า “asean” สีน้ำเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าวอันแสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะทำงานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภาพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีน้ำเงิน  หมายถึง   สันติภาพและความมั่นคง สีแดง     หมายถึง   ความกล้าหาญ และความก้าวหน้า สีขาว      หมายถึง   ความบริสุทธิ์ สีเหลือง  หมายถึง   ความเจริญรุ่งเรือง

คำทักทายประจำชาติอาเซียน

ชุดประจำชาติอาเซียน

ดอกไม้ประจำชาติอาเซียน

อาหารประจำชาติอาเซียน

สัตว์ประจำชาติกลุ่มประเทศอาเซียน

สกุลเงินของสมาชิกอาเซียน

วิวัฒนาการด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการเกษตร ของกลุ่มประชาคมอาเซียน

การเมือง: ระบบการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกในอาเซียนมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ระบบการเมืองมีความหลากหลายอย่างมาก บางประเทศปกครองด้วยระบอบสมบูรณ์อาญาสิทธิราชย์ (บรูไน) ในขณะที่บางประเทศปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข (กัมพูชา มาเลเซีย และไทย) ส่วนบางประเทศปกครองด้วยระบอบประธานาธิบดี (อินโดนิเซีย ลาว เมียนม่าร์ สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม) ความหลากหลายของระบบการเมืองกลับไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน พัฒนาการของระบบการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนก็มีความน่าสนใจไม่แพ้กัน ในขณะที่บางประเทศมีความมั่นคงทางการเมืองสูงอย่าง (มาเลเซียและสิงคโปร์) บางประเทศกลับประสบปัญหาสงครามกลางเมืองและการก่อการร้าย โครงการวิจัยของ The Polity IV วิเคราะห์ระบบการเมืองการปกครองในประเทศต่างๆ และกลุ่มประเทศอาเซียนเพื่อให้เห็นแนวโน้มของสถาบันทางการเมืองและความมั่นคงทางการเมือง

เศรษฐกิจ: ประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียนมีความแตกต่างทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ในขณะที่บรูไนและสิงคโปร์มีระดับรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูง ประเทศในแถบอินโดจีนกลับติดอยู่ในกลุ่มประเทศยากจนกลุ่มหนึ่งของโลก อย่างไรก็ตามประเทศในกลุ่มอาเซียนถือเป็นประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ที่ได้รับความสนใจจากประชาคมระหว่างประเทศ ด้วยจำนวนประชากรกว่า 600 ล้านคน อาเซียนเป็นตลาดขนาดใหญ่ที่หลายประเทศสนใจอยากมีความสัมพันธ์ทางการค้า ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูกแต่มีทักษะฝีมือดึงดูดนักลงทุนจากต่างประเทศ แม้ว่าโครงสร้างพื้นฐานในหลายประเทศจะยังพัฒนาได้ไม่เต็มที่ เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียนมีศักยภาพในการเจริญเติบโตในอนาคต ข้อมูลจากธนาคารโลก (The World Bank) แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางเศรษฐกิจและแนวโน้มการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในกลุ่มประเทศอาเซียน ส่วนข้อมูลจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (The International Monetary Fund: IMF) แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจและการเงินการคลังของประเทศในกลุ่มอาเซียน

สังคม: ประเทศในกลุ่มอาเซียนมีความหลากหลายทางสังคม ประเพณีและวัฒนธรรม หลายประเทศประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์และภาษา ในเชิงสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ประเทศในกลุ่มอาเซียนถือเป็นสนามวิจัยที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ความหลากหลายทางวัฒนธรรมอาจนำไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองในบางประเทศในอาเซียน แต่ความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้กลายเป็นยุทธศาสตร์เชิงท่องเที่ยวของหลายประเทศในอาเซียนเช่นกัน    

การเกษตร: เกษตรกรรมเป็นภาคส่วนเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศในกลุ่มอาเซียนเป็นประเทศผู้ส่งออกสินค้าสำคัญระดับโลก ในขณะที่ไทยและเวียดนามเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับที่หนึ่งและสองของโลก อินโดนิเซียและมาเลเซียเป็นผู้ส่งออกยางพาราและปาล์มน้ำมันระดับโลกเช่นกัน อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีทางการเกษตรและฐานะของเกษตรกรในประเทศกลุ่มอาเซียนกลับตามหลังประเทศในภูมิภาคอื่นๆ ข้อมูลนโยบายการเกษตรและการช่วยเหลือการเกษตรโดยมหาวิทยาลัยอัลเดอร์เลด (the University of Adelaide) ช่วยทำให้เราเห็นภาพเชิงเปรียบเทียบของพัฒนาการและแนวโน้มนโยบายการเกษตรในกลุ่มประเทศอาเซียน

ส่วนอีกหนึ่งสาขาที่ยังพิจารณาคุณสมบัติร่วมกันและไทยยังไม่ ได้ ลงนามร่วม คือ กลุ่มวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว

เกมการศึกษาชื่อประเทศกลุ่มอาเซียน

THE END

Thank you Good…..Bye