วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช ถั่วลิสง & กากเมล็ดฝ้าย
ถั่วลิสง (Peanut) เป็นแหล่งโปรตีน และพลังงานที่ถูกกว่า กากถั่วเหลือง และปลาป่น - DM 95% CP 25 - 30% - ไขมัน 35 - 50% เยื่อใย 2.9% - มี Arginine สูง - มี Oleic acid สูง - ทำได้ง่ายในฟาร์มโดยบดให้ละเอียดได้ง่ายโดย Hammer mill
ข้อเสียของถั่วลิสง - เปลือกบางสีชมพูที่หุ้มเมล็ดมี Tannin อยู่ 16-19% - มี trypsin inhibitor ที่ทนความร้อนกว่าในถั่วเหลือง - พบเชื้อรา Aspergillus flavus ที่สร้าง Aflatoxin ได้ ง่าย (ควรเก็บรักษาให้มีความชื้น < 7 %) - มีกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวอยู่สูง ควรเสริมด้วย Vit E - ขาด Met, Try และ Lys แต่มี Arg สูง - มี Ca, Cu, Fe และ Mn แค่ 1/3 ของถั่วเหลือง Mg, P แค่ 1/2ของถั่วเหลือง
รูปแบบการใช้ถั่วลิสงในอาหารสัตว์ ถั่วลิสงทั้งเมล็ด ใช้ในรูปถั่วลิสงคั่วบดทดแทนถั่วเหลืองในอาหารลูกสุกร หลังหย่านม ได้ 2.5-5 % อาหารสูกรร่น-ขุน ใช้ได้ 5 % ใช้แทน full fat soybean ลดการเติมใขมันในอาหาร อาหารสุกรระยะให้นม ใช้ได้ 12 %
กากถั่วลิสง (Peanut meal) - ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมน้ำมันถั่วลิสง - ส่วนประกอบทางเคมี Solvent Expeller DM 92.3 91.8 CP 47.0 45.0 CF 13.0 12.0 EE 1.0 5.0 Ca 0.2 0.15 P 0.6 0.55
- โปรตีนคุณภาพต่ำ กรดแอมิโนไม่สมดุล methionine (first limiting amino acid), lysine, Tryptophan ต่ำ argenine สูง - แร่ธาตุต่ำ Ca, Cu, Fe, Mn, K 1ใน 3 ของ SBM Mg, P 50 % ของ SBM - Trypsin inhibitor, tannin และ aflatoxin - มีใขมันตกค้างสูง ไม่ควรให้เกิน 25% เพราะซากจะมีไขมันเหลว (soft pork) - ในโคนม ถ้าใช้กากถั่วลิสงที่ไม่สกัดน้ำมันเกิน 5% น้ำนมจะนำไปทำเนยยาก และเนยมักไม่แข็งพอ (soft butter)
กากเมล็ดฝ้าย ( Cottonseed meal ) กาก 50% เปลือก 22% น้ำมัน 16% ความชื้น 5% ใยฝ้าย 7%
กากเมล็ดฝ้ายที่ใช้เป็นอาหารสัตว์ - กากเมล็ดฝ้ายอัดน้ำมัน (expeller หรือ screw press) - กากเมล็ดฝ้ายสกัดน้ำมันโดยสารละลาย (direct solvent) - กากเมล็ดฝ้ายอัดน้ำมันก่อนแล้วนำไปสกัดน้ำมันโดยใช้สารละลาย (prepressed solvent)
กากที่ได้ มีทั้งชนิดที่กระเทาะเปลือกออก ไม่กระเทาะเปลือก โปรตีน 41-43 % เยื่อใย 10-14 % โปรตีนคุณภาพต่ำกว่ากากถั่วเหลือง lysine (ต่ำมาก) methionine, cysteine ต่ำ Ca ต่ำ P สูง carotene, vitamin D ต่ำ กอสสิปอล (Gossypol ) Pigment gland บนสมอ หรือเปลือกของเมล็ดฝ้าย สารสีเหลือง ไม่ละลายน้ำแต่ละลายในน้ำมัน
ส่วนประกอบทางเคมี CSM CSM CSM CSM (hull) (expeller) (solvent) (prepress) DM 92.4 91.4 90.4 89.9 CP 28.0 41.0 42.0 41.0 EE 5.2 3.9 2.1 0.81 CF 21.4 12.6 11.3 12.7 Ca 0.17 0.17 0.16 0.17 P 0.64 0.97 1.0 1.0
Gossypol pigment สีเหลืองที่ผลิตจากต่อมบนสมอ หรือเปลือกของ เมล็ดฝ้าย มี 2 รูป - Free gossypol เป็นพิษ - Bound gossypol ไม่เป็นพิษ - ใน raw cottonseed จะมี free gossypol มากกว่า bound gossypol - การอัดน้ำมันจะ free และ bound gossypol
ความเป็นพิษของ gossypol Expeller Solvent F. gossypol 0.0103% 0.0092% B. gossypol 0.871% 1.088% ความเป็นพิษของ gossypol - Free gossypol จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด - เป็นตัวต้านกระบวนการ oxidation ในร่างกาย ลดประสิทธิภาพของ ME ลง
การทำลายพิษของ gossypol - ความร้อน Bound Free - สกัดในสารละลาย Hexane : Acetone : Water 44 : 53 : 3 ได้ถึง 95% - Fe So4 เติมในกากเมล็ดฝ้าย 1 : 1 แต่ต้อง คำนวณปริมาณ gossypol ให้ถูกต้อง และไม่ควรใช้ Fe SO4 เกิน 500 ppm
- Free gossypol + protein ประสิทธิภาพการใช้ Free gossypol ทำให้กระบวนการ Metabolism เสียไป สัตว์ขาดพลังงาน ขาดโปรตีน หรือทำให้ประสิทธิภาพใน การใช้โปรตีน และพลังงานต่ำ - ในสุกร > 100 ppm ทำให้ Intake อัตราการเจริญเติบโต หายใจขัด กระสับกระส่าย ซึม และตาย
ใช้เป็น male anti – fertility agent - ในไก่ 0.001% ในอาหาร ไข่จะเริ่มเปลี่ยนสี 0.005% - ไข่แดง มีสีเขียวมะกอก (Olive yolk) หรือเกิดจุด บนไข่แดง เพราะโปรตีนในไข่แดงจะขับ Ferric ion ออกมาไป รวมตัวกับ gossypol เป็นสารสี - ไข่ขาวจะข้นเหนียวคล้ายวุ้น - ในสัตว์เคี้ยวเอื้องกระทบน้อย ยกเว้นได้รับ 24 g/วัน เมล็ดเลือดแดง Plasma Protein - Temporary in fertility ใช้เป็น male anti – fertility agent
การใช้กากเมล็ดฝ้ายเลี้ยงสัตว์ - ไก่ (ในระยะเจริญเติบโต) ไม่ควรใช้กากเมล็ดฝ้ายสกัดน้ำมัน > 10% - ไม่ควรใช้ในไก่ไข่ แต่ถ้าจำเป็น ไม่ควรใช้ > 5% (ไม่สกัดน้ำมัน) > 20% (สกัดน้ำมัน)
- สุกรรุ่นและขุน ไม่ควรใช้ > 5% (ไม่สกัดน้ำมัน) > 20%(สกัดน้ำมัน) - ลูกสุกร < 5 เดือน ไม่ควรเกิน 15% ในสูตรอาหาร