ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา Blood Feeding and Repellent Actions on Mosquitoes of Neem Seed Extract
ยุงพาหะนำโรคที่สำคัญ รูปที่ 2 ยุงลาย (Aedes spp.) รูปที่ 3 ยุงก้นปล่อง (Anopheles spp.) รูปที่ 1 ยุงรำคาญ (Culex spp.) ที่มา : นิรนาม, (ม.ป.ป.)
วงจรชีวิตของยุง รูปที่ 4 วงจรชีวิตของยุง ที่มา : นิรนาม, (ม.ป.ป.)
การใช้สารสะเดาควบคุมแมลง ชนิดของสะเดาและสารออกฤทธิ์ในการกำจัดแมลง รูปที่ 5 สะเดาอินเดีย (Azadirachta indica A. Juss) รูปที่ 6 สะเดาไทย (Azadirachta indica A. Juss var. siamensis) รูปที่ 7 สะเดาช้าง (Azadirachta exelsa Jack) ที่มา : นิรนาม, (ม.ป.ป.)
การออกฤทธิ์ของสะเดาต่อแมลงศัตรูพืช 1. การยับยั้งกระบวนการลอกคราบ 2. การยับยั้งการกิน 3. การยับยั้งการวางไข่ 4. ผลต่อการเคลื่อนไหวและการบิน
ผลของสารสกัดสะเดาต่อลูกน้ำ ตารางที่ 1 ผลของการใช้น้ำมันจากสะเดาอินเดียต่อลูกน้ำ ชนิดของยุง วัยของลูกน้ำ น้ำมันจากสะเดาอินเดีย อัตราการตายที่ 24 ชั่วโมง (%) C. pipiens fastigans 1 0.005% 100% A. aegypti 4 0.02% C. quinquefasciatus 0.2% ที่มา : มานิต, (2543); Attri and Prasad, (1980); Sinniah and Jamaiah, (1994) and Zebitz, (1987)
ผลของสารสกัดสะเดาต่อลูกน้ำ (ต่อ) ตารางที่ 2 ผลของการใช้สารสกัดหยาบจากเมล็ดสะเดาอินเดียต่อลูกน้ำ ชนิดของยุง วัยของลูกน้ำ น้ำมันจากสะเดาอินเดีย อัตราการตายที่ 24 ชั่วโมง (%) A. aegypti 4 0.02% 100% C. quinquefasciatus ที่มา : มานิต, (2543) และ Sinniah and Jamaiah,(1994)
ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง ตารางที่ 3 ผลของการใช้ครีมสะเดาอินเดียที่ความเข้มข้น 5% โดยใช้ 2 กรัม ชนิดของยุง อัตราการไล่ที่ 24 ชั่วโมง (%) An. culicifacies 95% Anopheles spp. 92% Culicine 91% ที่มา : Singh และคณะ (1996)
ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง (ต่อ) ตารางที่ 4 ผลของการใช้น้ำมันสะเดาอินเดีย 2% ผสมกับน้ำมันมะพร้าว ชนิดของยุง อัตราการไล่ที่ 24 ชั่วโมง (%) Anopheles spp. 96-100% Aedes spp. 85% C. quinquefasciatus 61-94% ที่มา : Sharma และคณะ (1995)
ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง (ต่อ) ตารางที่ 5 ผลของการใช้น้ำมันสะเดาอินเดีย 1.5 และ 2.0 กรัม ชนิดของยุง จำนวนยุงที่มาเกาะที่มือ 1.5 กรัม 2.0 กรัม A.aegypti 0-4% 0-2% ที่มา : Hati และคณะ (1995)
ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง (ต่อ) ตารางที่ 6 ผลของการใช้ครีมสะเดาอินเดีย 2.0 กรัม ชนิดของยุง อัตราการไล่ที่ 24 ชั่วโมง (%) Aedes spp. 78% Culex spp. 89% Anopheles spp. 94.4% ที่มา : Dua และคณะ (1995)
ผลของสารสกัดเมล็ดสะเดาต่อการดูดเลือด Neem azal® + เลือดที่ทำขึ้นเอง ลดการดูดเลือด Neem azal® + น้ำหวาน
สรุป สารสกัดสะเดา ลดประชากร ลดสารเคมี ปลอดภัย
เสนอโดย... น.ส. จุฑาทิพย์ เพ็ชรสมบูรณ์ 4740043 อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา ผศ.ดร. อรัญ งามผ่องใส ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2