น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
บุคลากรฝ่ายอาคารสถานที่ได้รับการพัฒนาความรู้ ประจำเดือนมิถุนายน 2554
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
เรื่องถุงมือป้องกันสารเคมี
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การเสื่อมเสียของอาหาร
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chemical Properties of Grain
Plant Senescence -Program cell death (PCD)
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
การเพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดนางฟ้ามีรูปร่างลักษณะคล้ายคลึงกับเห็ดนางรม เห็ดทั้งสองชนิดนี้จัดอยู่ในวงศ์ (family) เดียวกัน ชื่อ "เห็ดนางฟ้า" เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นในเมืองไทย.
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน 65%
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ไม้ผลเมืองร้อนขนาดกลาง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
อาหารเพื่อสุขภาพ สำหรับบุคคลที่มีทวารเทียม
ฟีโลทอง philodendron sp.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ดอกไม้ภาคเหนือ จัดทำโดย เด็กหญิง ปัชลีย์ เจริญปิยพัฒน์
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
การป้องกันกำจัด  เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุด ทำลายตอยางเก่า  ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดิน แล้วควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อ ปรับสภาพดินให้เหมาะกับการ.
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
Happy Valentine’s Day. Z 2  เฉลียว ฉลาด  ตัดสินใจเด็ดเดี่ยว  เหมาะที่จะเป็นหัวหน้า 3.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
ผู้จัดทำ นายเอกพจน์ นรชาติวศิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จิตต์อารีฯ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases

กานพลู ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eugenia caryophyllus (Spreng.) Bullock & Harrison ชื่อพ้อง : E. caryophyllata Thunb Eugenia aromatica Kuntze Syzygium aromaticum (L.) Merr. & Perry ชื่อวงศ์ : Myrtaceae ชื่ออังกฤษ : Clove, Clove tree ชื่ออื่นๆ : ดอกจันทน์ (Dok-chan) (เชียงใหม่) จันจี่ (เหนือ) ถิ่นกำเนิด : อินโดนีเซีย มาเลเซีย อินเดีย

กานพลู รูปที่1 ลักษณะดอกแห้ง ดอกสด และ ต้นของกานพลู ที่มา : มูลนิธิสุขภาพไทย  ; พรชัย  2550 และ Kyozaburo Nakata    

องค์ประกอบที่พบในน้ำมันหอมระเหยกานพลู Eugenol รูปที่ 2. โครงสร้างทางเคมีของ Eugenol ที่มา : Web Wikimedia

กลไกการออกฤทธิ์ของสาร eugenol ต่อเชื้อจุลินทรีย์ eugenol : ขัดขวางการละลายของชั้นไขมันใน cytoplasmic membrane กลุ่ม hydroxyl (OH group) : ยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์ ทำให้โปรตีนภายในเซลล์รวมตัวกัน

การใช้น้ำมันหอมระเหยกานพลูทดสอบการยับยั้ง การเจริญของเชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืช 1 เกษม และ วิจัย (2528) : สมุนไพร 10 ชนิดในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืช ตารางที่ 1 การแสดงค่า EC 50 ของกานพลูที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา ชนิดของเชื้อรา กานพลู (ppm) Phytophthora sp. <20,000 Pythium aphanidermatum (Eds,)Fitz 25,000 Ceratocystis paradosa Ellis & Halst. Alternaria alternata (Fr.) Keissler 33,100 Colletotrichum dematium (Pers. Ex Rr. )Grove. >100,000 Fusarium solani (Mart.)Sacc.Emend Snyd. &Hans. 46,000 Melanconium fuligineum (Scrib. & Viala) Gav. 74,000 Sclerotium rolfsii sacc. ที่มา ดัดแปลงจาก เกษม และ วิจัย (2528 )

2 Wilson และคณะ (1997) ทดสอบการยับยั้งการงอกของสปอร์ของเชื้อ Botrytis cinerea สาเหตุโรคผลเน่าของผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว น้ำมันหอมระเหยกานพลูสามารถยับยั้งการงอกของสปอร์ได้ตั้งแต่ความเข้มข้น 0.78 % ที่เวลา 24 ชม.

ที่มา : ดัดแปลงจากรวีวรรณ (2542) 3 รวีวรรณ (2542) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อColletotrichum gloeosporioides กานพลู + PDA ยับยั้งเชื้อราได้ 100 % ในระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 1,000 ppm เป็นต้นไป ตารางที่ 2 กรรมวิธีการทดลองและผลการทดลอง กรรมวิธีการทดลอง ความเข้มข้น (ppm) ขนาดแผล (cm.) ขนาดแผลชุดควบคุม (cm.) ฉีดพ่น 500 1.38 1.83 1,000 1.70 2,000 อบไอระเหย 5,000 1.22 - แช่ผล (ก่อนการฉีดพ่นเชื้อ) 1.74 1.73 3,000 1.68 แช่ผล (หลังการฉีดพ่นเชื้อ) 0.68 1.35 0.71 ที่มา : ดัดแปลงจากรวีวรรณ (2542)

4 ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อ Trichoderma harzianum สาเหตุราเขียวในถุงเห็ด PDA + กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm ผลการทดสอบ รูปที่ 3. การเจริญของเชื้อรา T. harzianum บน PDA ผสมผงกานพลู ที่ระดับความเข้มข้น 0 (ชุดควบคุม) 500 1000 1500 2000 2500 และ 3000 ppm ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อ Trichoderma harzianum ( ต่อ) PDA + กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm ผลการทดสอบ e a รูปที่ 4 ลักษณะของสปอร์ T. harzianum เมื่อทดสอบกับกานพลู เป็นเวลา 24 ชั่วโมง (x 300 ) ชุดควบคุม (a) กานพลูที่ระดับความเข้มข้น ต่ำสุดที่ยับยั้งการงอกของสปอร์ T. harzianum ( 2,000 ppm ) (e) ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อสปอร์ของ Cercospora cruenta Oidium sp ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อสปอร์ของ Cercospora cruenta Oidium sp. และ Uromyces vignae สาเหตุโรคใบจุด ราแป้ง และราสนิม แบ่งเป็น 3 การทดลองดังนี้ 1 การทดลองในห้องปฏิบัติการ 2 ในกระถาง 3 แปลงปลูก

ผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ อาหาร WA + กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm a c e f b d รูปที่ 5 ลักษณะการงอกของสปอร์ C. cruenta Oidium sp. U. vignae บนอาหาร WA ผสมกานพลู ที่ 0 ppm และความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการงอกของสปอร์ได้ 100 % a , b = C. cruenta ที่ความเข้มข้น 0 และ 2,000 ppm c , d = Oidium sp. ที่ความเข้มข้น 0 และ 500 ppm e , f = U. vignae ที่ความเข้มข้น 0 และ 500 ppm ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

ผลการทดสอบในกระถาง ฉีดพ่นกานพลูก่อนปลูกเชื้อ ความเข้มข้น 3,000 และ 6,000 ppm ฉีดพ่นกานพลูหลังปลูกเชื้อ ความเข้มข้น 3,000 และ 6,000 ppm ผล : ชุดที่ปลูกเชื้อก่อนการฉีดพ่นกานพลูเกิดโรครุนแรงกว่าหลังปลูกเชื้อ ระดับความรุนแรงของโรคเท่ากับ 2.5 ทั้งสองระดับความเข้มข้น

ผลการทดสอบในแปลงปลูก ฉีดพ่น+กานพลู ความเข้มข้น 6,000 และ 3,000 ppm มีระดับความรุนแรงของโรคเท่ากับ 1.07 1.23 2.40 และ 0.97 1.40 2.67 ตามลำดับ ในแต่ละโรค ตารางที่ 3 ผลการทดสอบในแต่ละความเข้มข้น ความเข้มข้ม(ppm) จำนวนฝัก /ไร่ (ฝัก/ไร่) น้ำหนัก/ไร่ ( กก. /ไร่) 3,000 135,194 2,697.00 6,000 156,585 2,929.90 ที่มา : ดัดแปลงจากปริศนา (2548)

5 สายชล และสมบัติ (2550) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อรา Fusarium moniliforme ใน เมล็ดข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 PDA + กานพลู ที่ความเข้มข้น 100 200 300 400 และ 500 ppm ผลการทอสอบ น้ำมันกานพลูยับยั้งการเจริญของเชื้อราได้ 100 % ที่ความเข้มข้น 400 ppm เป็นต้นไป

สายชล และสมบัติ (2550) (ต่อ) การศึกษาในระยะกล้า แบ่งการทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือ ทำการทดลองบนกระดาษชื้น ( bloter plate ) นำไปเพาะในดินอบฆ่าเชื้อ ที่มา : Kyozaburo Nakata

ผลการทดลองบนกระดาษชื้น ( bloter plate ) น้ำมันกานพลูให้ความงอกของเมล็ดสูงถึง 99 % ลดเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อของเมล็ด เมล็ดมี % การติดเชื้อ = 13.50 ชุดควบคุมเมล็ดมี % การติดเชื้อ = 95.25 แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ ลดจำนวนต้นกล้าผิดปกติได้ดีที่สุดด้วย

ผลการทดลองในดินอบฆ่าเชื้อ น้ำมันกานพลูลดเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อของเมล็ด เพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดในกระถาง = 97.00 % ตารางที่ 4 ผลการทดลอง ตัวชี้วัด น้ำมันกานพลู ชุดควบคุม ความยาวลำต้น (cm.) 29.43 27.42 ความยาวราก (cm.) 11.89 7.85 น้ำหนักสด (g.) 3.87 3.24 น้ำหนักแห้งของต้นกล้า (g.) 0.66 0.52 ที่มา : ดัดแปลงจากสายชล และสมบัติ (2550)

สรุป สามารถควบคุมจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืช โดยมีสารที่มีฤทธิ์ควบคุม คือ eugenol ซึ่งพบถึง 80 % จากองค์ประกอบทั้งหมด สามารถควบคุมได้หลายชนิดทั้งโรคก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว เช่น Botrytis cinerea Fusarium moniliforme และ Colletotrichum gloeosporioides เป็นต้น การนำมาใช้กับผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวมีศักยภาพค่อนข้างสูง ในห้องปฏิบัติการน้ำหอมระเหยกานพลูสามารถควบคุมการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืชได้ 100 % ที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 400 ppm ขึ้นไป การใช้ในสภาพแปลงยังต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม

โดย นางสาวสุภาพร ทองมา อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. เสมอใจ ชื่นจิตต์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2