886201 หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Lecture 5: ทางเลือกแบบหลายทาง
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Introduction to C Programming
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
อาเรย์ (Array).
Lecture no. 2: Overview of C Programming
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
Operators ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
บทที่ 7 Flash 8 ActionScripts.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
Operators ตัวดำเนินการ
Overview of C Programming
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

886201 หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ

ตัวแปร (Variable) ในโปรแกรมจะต้องกำหนดตัวแปรที่จะใช้ เพื่อจองเนื้อที่สำหรับเก็บข้อมูลในระหว่างการทำงานของโปรแกรม โดยระบุชื่อตัวแปร และชนิดข้อมูลที่จะเก็บ ชื่อของตัวแปรควรสื่อความหมาย การตั้งชื่อตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย ‘_’ ชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง ห้ามมีอักขระพิเศษ (ยกเว้น ‘_’) ชื่อตัวแปรห้ามเป็นคำสงวน เช่น main, double, return, ฯลฯ ตัวแปรที่เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เล็ก ถือว่าแตกต่างกัน (Case Sensitive)

ชื่อตัวแปร

การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร ; int count; ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร ; ตัวอย่างเช่น int count; double area, result; char x; string name;

การประกาศตัวแปรพร้อมกำหนดค่าเริ่มต้น int count = 0; double area = 0.0; char x = ‘A’; string name = “Hello”;

การประกาศตัวแปรแล้วกำหนดค่าภายหลัง int number; double result; number = 5; result = number + 10; Assignment Statement

ข้อควรระวังในการเขียนคำสั่งกำหนดค่า number = 5; ไม่ได้หมายถึงการเปรียบเทียบ แต่หมายถึงการนำค่า 5 ไปเก็บในตัวแปรชื่อ number result = number + 10; ไม่ได้หมายความว่า result ทางซ้าย มีค่าเท่ากันกับ number + 10 ทางขวา แต่หมายความว่า ให้นำค่าที่เก็บในตัวแปร number มาบวกกับ 10 ก่อน เมื่อได้ผลลัพธ์แล้วให้นำค่าที่ได้ไปเก็บในตัวแปรชื่อ result

ชนิดของตัวแปรที่เป็นตัวเลข

พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้

พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้

ตัวดำเนินการเลขคณิต (Arithmetic Operators) สัญลักษณ์ ประเภทข้อมูล ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + int, float, double 2 + 3 5 - 3 - 4 -1 * 5 * 6 30 / float, double 4.50 / 3.0 1.50 int 6 / 7 % 6 % 7 6

โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ? int main( ) { int A, B; float C, D; A = 3; B = 8; C = 4.5; D = 1.5; cout << “A*B = ” << A*B << endl; cout << “C*D = ” << C*D << endl; cout << “C/D = ” << C/D << endl; cout << “A DIV B = ” << A/B << endl; cout << “A MOD B = ” << A%B << endl; cout << “B MOD A = ” << B%A << endl; return 0; } โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ?

โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ? int main( ) { int A, B; float C, D; A = 3; B = 8; C = 4.5; D = 1.5; cout << “A*B = ” << A*B << endl; cout << “C*D = ” << C*D << endl; cout << “C/D = ” << C/D << endl; cout << “A DIV B = ” << A/B << endl; cout << “A MOD B = ” << A%B << endl; cout << “B MOD A = ” << B%A << endl; return 0; } โปรแกรมนี้พิมพ์ผลลัพธ์อะไรออกทางหน้าจอ ? A*B = 24 C*D = 6.750000 C/D = 3.000000 A DIV B = 0 A MOD B= 3 B MOD A = 2

ตารางลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ *** ถ้าต้องการกำหนดลำดับความสำคัญเอง ให้ใช้วงเล็บจัดกลุ่มการคำนวณตามต้องการ

ตัวอย่างการหาผลลัพธ์จากนิพจน์ที่กำหนด 12 % 5 * 3 6 10 + 5 * 20 / 2 60 16 * 6 - 3 * 2 90 (28 + 3 * 4) / 4 10 10 / 3 * 3 9 5 / 2.0 + 4.0 6.5

ตัวดำเนินการเพิ่มลด (Increment and Decrement Operators) ++x; หรือ x++; หมายถึงการกำหนดค่า x = x + 1; decrement คือการลบออก 1 โดยใช้คำสั่ง --x; หรือ x--; หมายถึงการกำหนดค่า x = x - 1;

increment และ decrement แบบ prefix Prefix คือ ทำบวกหรือลบก่อน (++a, --a) แล้วจึงนำค่าใหม่ไปใช้ ++a หมายถึง a = a+1; แล้วจึงนำค่า a ไปใช้งาน --a หมายถึง a = a-1; แล้วจึงนำค่า a ไปใช้งาน

ตัวอย่าง a = 10; b = 10 + ++a; ได้ a = 11 และ b = 21 a = 5; cout << “a = ” << --a << endl; แสดงผล a = 4 ค่าในตัวแปรคือ 4

increment และ decrement แบบ postfix Postfix คือ ทำบวกหรือลบทีหลัง (a++, a--) นำค่าของตัวแปรไปใช้ก่อน แล้วจึงเพิ่มหรือลดค่าตัวแปร a++ หมายถึง นำค่า a ไปใช้งาน แล้วจึงคำนวณ a = a+1; a-- หมายถึง นำค่า a ไปใช้งาน แล้วจึงคำนวณ a = a-1;

ตัวอย่าง a = 10; b = 10 + a++; ได้ a = 11 และ b = 20 a = 5; b = a- - + 7; ได้ a = 4 และ b = 12 a = 5; cout << “a = ” << a-- << endl; แสดงผล a = 5 แต่ค่าในตัวแปร a คือ 4

การใช้ compound statement += , -= , *= , /= , %= ใช้เพื่อแทนคำสั่งที่ตัวดำเนินการตัวแรกของนิพจน์ทางขวามือของเครื่องหมายเท่ากับ คือตัวเดียวกับตัวแปรทางซ้ายมือของเครื่องหมายเท่ากับ มีความหมายดังนี้ a += 10; คือ a = a + 10; a += b; คือ a = a + b; a *= x + y; คือ a = a * (x + y); ต้องคำนวณ expression ทางขวาให้เสร็จเรียบร้อยก่อน โดยให้ใส่วงเล็บครอบไว้ด้วย

cout << “amount1 = ” << amount1 << endl; int main() { double amount1 = 10000, amount2 = 5400; double vat = 0.07, pay = 0; amount1 += amount1*vat; cout << “amount1 = ” << amount1 << endl; amount2 += amount2*vat; cout << “amount2 = ” << amount2 << endl; pay += amount1; pay += amount2; cout << “pay = ” << pay; return 0; } amount1 = 10700.000000 amount2 = 5778.000000 pay = 16478.000000 Output on screen

ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ #include <cmath>

ตัวแปรชนิดตัวอักขระ (char) เก็บข้อมูลเพียงหนึ่งตัวอักขระ ใช้เครื่องหมาย ' (single quote) ปิดหน้าและปิดหลัง หนึ่งอักขระใช้ 8 บิต เช่น 'a', 'C', 'D', '^', '@' escape character เช่น ‘\n’, ‘\t’, ‘\’’, ‘\”’

ASCII Table

ความสัมพันธ์ระหว่าง char กับ int

สายอักขระ (String) เก็บข้อมูล 1 ตัวอักขระหรือมากกว่า ใช้เครื่องหมาย " (double quote) ปิดหน้า และปิดท้าย เช่น "student", "diligent", "industrious“ #include <string> using namespace std; ... string name = "Harry";

ตัวอย่าง string fname = "Harry"; string lname = "Morgan"; string name = fname + lname; cout << name << endl; name = fname + " " + lname; ผลลัพธ์ที่ได้คือ HarryMorgan Harry Morgan

การหาความยาวของ string string greeting = "Hello, World!"; H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 int n; n = greeting.length(); cout << “n= ” << n << endl; // n = 13

การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(0, 5); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "Hello"

การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(7, 5); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "World"

การหา substring H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; string sub = greeting.substr(7); // ผลลัพธ์ที่เก็บในตัวแปร sub คือข้อความ "World!"

การพิมพ์ตัวอักษรหนึ่งตัวใน string H e l l o , W o r l d ! 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 string greeting = "Hello, World!"; cout << greeting[7] << endl; // พิมพ์ตัวอักษร W ออกทางหน้าจอ

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง