โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
(Impulse and Impulsive force)
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
Systems of Forces and Moments
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ ทุกกรณีโมเมนตัมเชิงมุม มีทิศตั้งฉากกับระนาบวงกลม

พุ่งขึ้นเข้าหาหน้าเรา

CENTER

CENTER

CENTER

ขนาดและทิศของโมเมนตัมเชิงมุมขึ้นกับตำแหน่งของจุดอ้างอิง ดังนั้นแม้ว่าวัตถุจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงก็มี โมเมนตัมเชิงมุมได้

CENTER

CENTER

CENTER

ตัวอย่าง วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เริ่มเคลื่อนที่วงกลมรัศมี 2 เมตร ณ พิกัด (2,0,0) บนระนาบ xy ทวนเข็มนาฬิกา ตามสมการ จงหา โมเมนตัมเชิงมุม ณ วินาทีที่ 1 และ 3 ถ้า ศูนย์กลางวงกลม เป็นจุดอ้างอิง

ณ วินาที 1 Z Y X

ณ วินาที 1 Z Y X

ณ วินาที 1 Z Y X

ณ วินาที 1 Z Y X

โมเมนตัมเชิงมุม จะคงที่ต่อเมื่อ ขนาดเท่าเดิมและทิศเหมือนเดิม แม้ว่า รัศมีและโมเมนตัมเชิงเส้นจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม ถ้าโมเมนตัมเชิงมุมคงที่ จะเกิดต่อเมื่อ แรงลัพธ์ที่กระทำอนุภาคเป็นศูนย์ ไม่มีแรงใดๆเลย หรือมีแต่รวมกันเป็นศูนย์

กฎของ 1 ของนิวตัน แสดงว่า แต่วัตถุที่มีแรงลัพธ์เป็นศูนย์ จะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ กฎของ 1 ของนิวตัน คือกฏของ 1 ของนิวตันในรูปโมเมนตัมเชิงมุม แสดงว่า

แต่ ทอร์ก ดังนั้น ผลรวมทอร์กทั้งหมด คือ โมเมนต์ที่มีทิศ หรือ “แรงบิด” คือ โมเมนต์ที่มีทิศ หรือ “แรงบิด” แต่ ทอร์ก ดังนั้น ผลรวมทอร์กทั้งหมด นั่นคือ วัตถุที่มีแรงลัพธ์เป็นศูนย์ จะไม่มีทอร์กหรือทอร์กเป็นศูนย์

ถ้าโมเมนตัมเชิงมุมของอนุภาค(วัตถุ)คงที่ จะไม่มีทอร์กกระทำต่ออนุภาค หรือมีแต่ผลรวมทอร์กเป็นศูนย์ ( ก็คือไม่มี) …..แล้วพูดทำไมว๊ะ ไม่หมุน หรือหมุนโดย คงที่ (หมุนในทิศเดิม)

กฎข้อ 1 นิวตัน คงที่ วัตถุอยู่นิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่…เชิงเส้น ไม่หมุน หรือหมุนโดย คงที่ (หมุนในทิศเดิม)…เชิงมุม

กฏการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม “โมเมนตัมเชิงมุมของอนุภาคจะคงที่เสมอ ถ้าทอร์คทั้งหมดที่กระทำต่ออนุภาคเป็นศูนย์” จะคงที่ ถ้า

ทอร์ก(Torque) คืออะไร ตัวย่อ โมเมนต์ คืออะไร โมเมนต์ คือ ผลคูณะหว่างแรงกับระยะจากจุดหมุนตั้งฉากกับแนวแรง ผล ทำให้วัตถุหมุนหรือพยายามหมุนไปตามแนวแรงนั้น

ตัวอย่าง 6 m C B A 30 3 m โมเมนต์รวม ถ้า A เป็นจุดหมุน ทำไมว๊ะ ตอบ

โมเมนต์รวม ถ้า A เป็นจุดหมุน 6 sin30 = 6(0.5) = 3 m 6 m B A C 30 3 m โมเมนต์รวม ถ้า A เป็นจุดหมุน ทอร์ก = 30Nm ทิศพุ่งลงไปในกระดาษ ตามกฏมือขวา วัตถุ หมุนตามเข็มนาฬิกา

โมเมนต์รวม ถ้า B เป็นจุดหมุน ทอร์ก = 24 Nm ทิศพุ่งออกมาจากกระดาษ A C 30 3 m โมเมนต์รวม ถ้า B เป็นจุดหมุน ทอร์ก = 24 Nm ทิศพุ่งออกมาจากกระดาษ วัตถุ หมุนทวนเข็มนาฬิกา

โมเมนต์รวม ถ้า C เป็นจุดหมุน ทอร์ก = 3 Nm ทิศพุ่งลงไปในหน้ากระดาษ 3 sin30 = 3(0.5) = 1.5 m 6 m B A C 30 3 m โมเมนต์รวม ถ้า C เป็นจุดหมุน ทอร์ก = 3 Nm ทิศพุ่งลงไปในหน้ากระดาษ วัตถุ หมุนตามเข็มนาฬิกา

A เป็นจุดหมุน Z B C Y A ทิศหมุน X

B เป็นจุดหมุน Z B C Y A ทิศหมุน X

C เป็นจุดหมุน Z B C Y A ทิศหมุน X

ถ้าไม่มีแรงลัพธ์ แกนหมุน

ถ้าโมเมนตัมเชิงมุมไม่คงที่ วัตถุจะหมุน หรือแนวการเคลื่อนที่เปลี่ยนไปจากเดิม จะเกิดต่อเมื่อ มีแรงกระทำต่อวัตถุแรงเดียว หรือมีแต่หลาย แต่แรงเหล่านั้นรวมแล้วไม่เป็นศูนย์ เกิดทอร์ก หรือ แรงบิด กระทำต่ออนุภาค

ดังนั้น

แต่กรณีแรงลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ ก็คือกฏของ 2 ของนิวตัน แต่กรณีแรงลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ ก็คือกฏของ 2 ของนิวตัน “อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมจะเท่ากับทอร์กลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ” ดังนั้น เป็นกฏข้อ 2 ของนิวตันในรูป โมเมนตัมเชิงมุม