ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
Center of Mass and Center of gravity
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลังงาน.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
Acute Myeloblastic Leukemia FAB : M1
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วงรี ( Ellipse).
ปฏิบัติการเรื่องการลดขนาด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป

คือสิ่งที่เราสนใจศึกษา ระบบ ( System ) คือสิ่งที่เราสนใจศึกษา ระบบโดดเดี่ยว คือระบบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ หรือมีแต่ผลรวมเป็นศูนย์

m2 m1

m2 m1 System ไม่เป็นะบบโดดเดี่ยว เป็นระบบโดดเดี่ยว

เป็นระบบโดดเดี่ยว เพราะไม่มีแรงภายนอกกระทำต่อระบบ เป็นระบบโดดเดี่ยว หรือ อิสระ หรือไม่ m2 m1 System เป็นระบบโดดเดี่ยว เพราะไม่มีแรงภายนอกกระทำต่อระบบ

m1 m3 m5 m6 เป็นะบบโดดเดี่ยว ไม่เป็นะบบโดดเดี่ยว

m4 m1 m2 m3 ไม่อิสระ ไม่อิสระ ระบบอิสระ ถ้า

การบอกตำแหน่งของกล่มอนุภาคไม่สะดวก จึงกำหนดตำแหน่งเสมือนรวมมวลของทุกอนุภาคไว้ เรียก “จุดศูนย์กลางมวล” C.M.

จุดศูนย์กลางมวล (center of mass;CM) จุดเสมือนรวมมวลวัตถุทั้งก้อน

จุดศูนย์ถ่วง ( center of gravity ; c.g.) จุดเสมือนรวมน้ำหนักของวัตถุ ทั้งก้อน จุด c.m. และจุด c.g. อาจอยู่จุดเดียวกันหรือคนละจุด ก็ได้ c.m. c.m. c.g. c.g.

วิธีหาจุด c.g.

การหาจุด CM. ถ้ามวลไม่ต่อเนื่อง Z c.m. m1 Y X

ความเร็วจุดศูนย์กลางมวล ความเร่งจุดศูนย์กลางมวล

ถ้ามวลต่อเนื่อง Z dm Y X

ตัวอย่าง จงหาจุด c.m. ต่อไปนี้ M1 = 500 g (0,0,1) M2 = 200 g m5 (1,1,1) m6 M3 = 100 g (0,-1,0) M4 = 800 g m4 m2 m1 m3 (0,2,0) M5 = 400 g (1,0,0) M6 = 200 g

ตอบ M1 = 500 g (0,0,1) m5 M2 = 200 g (1,1,1) M3 = 100 g m6 M4 = 800 g (0,-1,0) M5 = 400 g m4 m2 m1 M6 = 200 g (0,2,0) M=2.2 Kg m3 (1,0,0) ตอบ

ตัวอย่าง จงหาความเร็วและความเร่งของ c.m. ต่อไปนี้ M1= 500 g m3 M2= 300 g M3= 200 g m2 m1

m1= 500 g m2= 300 g m3 m3= 200 g M=1 kg m2 m1 ตอบ

ตอบ

มวลลดทอน

m2 m1 ถ้าผู้สังเกตอยู่บน m2 จะเห็น m1 เคลื่อนที่ตามสมการ เมื่อ

โมเมนตัมเชิงมุม ของระบบอนุภาค จะเท่ากับ ผลรวม(เวกเตอร์) ของโมเมนตัมเชิงมุมของแต่ละอนุภาค

m1 m2

อาจเปลี่ยนแปลงได้ อาจมีทิศใดก็เป็นได้ m3 m2 m1 m4 ถ้า ระบบอิสระ

อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมรวมของระบบ เท่ากับทอร์ครวมจากแรงภายนอก m3 m2 m1 อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมรวมของระบบ เท่ากับทอร์ครวมจากแรงภายนอก m4 ถ้า ระบบไม่อิสระ

สรุป อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมรวมของระบบ มีขนาดและทิศ เท่ากับขนาดและทิศของทอร์ครวมจากแรงภายนอก

ตัวอย่าง ระบบอนุภาคประกอบด้วยอนุภาค 3 ตัว แต่ละก้อนเป็นดังนี้ จงพิสูจน์ว่า เป็นระบบอิสระ หรือไม่

แสดงว่า ระบบอิสระ โปรดสังเกตว่า โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุบางก้อนไม่คงที่ แต่โมเมนตัมเชิงมุมรวมคงที่

ตัวอย่าง ระบบอนุภาคประกอบด้วยอนุภาค 3 ตัว แต่ละก้อนเป็นดังนี้ จงพิสูจน์ว่า เป็นระบบอิสระ หรือไม่

ระบบไม่อิสระ จาก แสดงว่า นั่นคือ อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมรวมของระบบเท่ากับ 4 kg.m2/s นั่นคือ ระบบไม่อิสระ

โดยโมเมนตัมเชิงมุมแต่ละตัวอาจคงที่ หรือ ไม่คงที่ สรุป ถ้าไม่ระบบอิสระ ถ้าระบบอิสระ โดยโมเมนตัมเชิงมุมแต่ละตัวอาจคงที่ หรือ ไม่คงที่

จบบท

พลังงานจลน์การหมุน เมื่อ I คือโมเมนต์ความเฉื่อย