การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

Center of Mass and Center of gravity
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลศาสตร์ (Dynamics ) การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ

ต่อไปเราจะศึกษาแรง ชนิดต่าง ๆ แรง ( Force) สัญลักษณ์ เป็นสิ่งที่ทำให้ความเร่งของวัตถุเปลี่ยนไป แรงมีหลายชนิด ต่อไปเราจะศึกษาแรง ชนิดต่าง ๆ

1 แรงเสียดทาน สัญลักษณ์ เป็นแรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เกิดบริเวณผิวสัมผัสโดยมีแนวแรงอยู่บนระนาบของผิวสัมผัส แรงเสียดทานขึ้นกับลักษณะพื้นผิวที่สัมผัสกัน และขึ้นแรงที่วัตถุกดตั้งฉากลงบนผิวสัมผัส แรงเสียดทานแบ่งเป็น แรงเสียดทานสถิตย์ และ แรงเสียดทานจลน์

1.1 แรงเสียดสถิตย์ สัญลักษณ์ เป็นแรงเสียดทานที่เกิดในขณะวัตถุกำลังจะเคลื่อนที่( แต่ยังไม่เคลื่อนที่ ) หรือพยายามจะเคลื่อนที่ มีทิศตรงข้ามกับทิศที่วัตถุพยายามจะเคลื่อนที่

แรงเสียดทานสถิตย์มากสุด หาจากสมการ วัตถุไม่เคลื่อนที่ แต่พยายามเคลื่อนที่ แรงกดพื้น แรงเสียดทานสถิตย์มากสุด หาจากสมการ

1.2 แรงเสียดทานจลน์ สัญลักษณ์ เป็นแรงเสียดทานที่เกิดในขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่ มีขนาดคงที่แม้ว่าวัตถุจะมีความเร็วเปลี่ยนแปลง

วัตถุกำลังเคลื่อนที่ แรงกดพื้น แรงเสียดทานจลน์

2 แรงดึงดูดระหว่างมวลและน้ำหนัก 2 แรงดึงดูดระหว่างมวลและน้ำหนัก กฏความโน้มถ่วงสากล “จุดมวล และ ว่างห่างกันเป็นระยะ จะมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน แรงนี้จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่าง และ และแปรผกผันกับ”

ถ้า เป็นมวลของดาว เช่น โลก หรือ ดวงอาทิตย์ ( ต่อไปนี้จะให้เป็น ) ส่วน (ซึ่งต่อไปนี้จะให้เป็น ) เป็นมวลของวัตถุ ณ ระยะห่างจากกันในแนวศูนย์กลาง แรง ซึ่งเป็นแรงดึงดูดที่ดาวกระทำต่อวัตถุนี้ เราเรียกว่า น้ำหนักของวัตถุ

m ดวงดาว M r W R

น้ำหนัก จึงเป็นแรงอีกชนิดหนึ่ง มีทิศพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลางของดาว หรือ โลก สำหรับกรณีวัตถุอยู่ใกล้ๆผิวดาว น้ำหนักมีขนาดหาได้ตามสมการ กรณี โลก

3 แรงคอนสเตรนส์ ( Force of Constraint) เป็นแรงที่วัตถุกระทำเพื่อต้านแรงภายนอกที่มากระทำ แรงนี้จะช่วยให้วัตถุคงรูปร่างเดิมไม่เปลี่ยนไปกับแรงที่มากระทำ แรงนี้มีบทบาทมากในการบังคับและจำกัดการเคลื่อนที่ของวัตถุ

แรงวัตถุกระทำพื้น แรงคอนสเตรนส์ แรงวัตถุกระทำพื้น แรงคอนสเตรนส์

  4 แรงตึง เป็นแรงที่เกิดภายในวัตถุเมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุ เช่นกรณีเราดึงเชือก ภายในส่วนหนึ่งๆ ของเส้นเชือกจะเกิดแรงขนาดเท่ากับแรงภายนอกที่มากระทำแต่ทิศตรงข้ามกระทำต่อเชือก ณ ส่วนนั้น ดังรูป

ขนาดแรงดันภายนอก = ขนาดแรงดันกลับ 5 แรงในลวดสปริง สปริง สมดุล ขนาดแรงดึงภายนอก = ขนาด แรงดึงกลับ แรงดึงกลับ แรงดึงภายนอก สปริงยืด X แรงดันกลับ แรงดันภายนอก สปริงหด ขนาดแรงดันภายนอก = ขนาดแรงดันกลับ X

แรงกระทำสปริง และแรงที่สปริงต้าน มีขนาดเท่ากันเสมอ เมื่อสปริงยืดหรือหด แรงกระทำสปริง และแรงที่สปริงต้าน มีขนาดเท่ากันเสมอ X คือ ระยะสปริงยืดหรือหด จากแนวสมดุล ( m ) k คือ ค่าคงที่ ( สปริงแต่ละตัว มีค่าไม่เท่ากัน ) มีหน่วย N/m

นอกจากนี้ ยังมีแรงอีกหลายชนิด

6 แรงลัพธ์ คือผลรวมของแรงต่างๆ จากภายนอก ที่กระทำต่อวัตถุ 6 แรงลัพธ์ คือผลรวมของแรงต่างๆ จากภายนอก ที่กระทำต่อวัตถุ

4N 3N

การพิจารณาเกี่ยวกับแรงลัพธ์ 1 ถ้า แสดงว่า

ผลรวมขนาดแรงทิศ +X = ผลรวมขนาดของแรงทิศ -X ผลรวมขนาดแรงทิศ +Y = ผลรวมขนาดของแรงทิศ -Y ผลรวมขนาดแรงทิศ +Z = ผลรวมขนาดของแรงทิศ -Z

2 กรณี จะเกิดจากกรณีต่อไปนี้ 2.1 ถ้า จะได้ว่า

z y x

2.2 ถ้า จะได้ว่า 2.3 ถ้า จะได้ว่า

z y x

z y x

2.4 ถ้า จะได้ว่า

z y x

3 มวล ( mass;m) คือ ปริมาณฟิสิกส์ที่บอกความสามารถคงสภาพเดิมของวัตถุ ( ความเฉื่อย) เมื่อมีแรงภายนอกมากระทำ มีหน่วย kg มวลของวัตถุเป็นค่าคงที่ ไม่ว่าเราจะวัดมวล ณ ที่ใดในจักรวาล แต่ถ้าวัตถุมีความเร็วสูงมาก ๆ เกือบเท่าความเร็วของแสง มวลจะเปลี่ยนไป

มวล และ น้ำหนัก เป็นปริมาณฟิสิกส์ต่างชนิดกัน อย่าสับสนนะจ๊ะ มวล และ น้ำหนัก เป็นปริมาณฟิสิกส์ต่างชนิดกัน มวล (m) จะเท่าเดิมเสมอ ไม่ว่าวัตถุอยู่ที่ใด เป็นสเกลลาร์ มีหน่วย kg น้ำหนัก คือ แรงดึงดูดหรือแรงโน้มถ่วง ที่ดาวกระทำต่อวัตถุ มีค่าเปลี่ยนแปลงขึ้นกับมวลของดาวและตำแหน่งที่ห่างจากศูนย์กลางดาว เป็นเวกเตอร์ มีหน่วย นิวตัน

วัตถุอยู่ในภาวะ “สมดุล” กฏนิวตันข้อ 1 “ วัตถุ จะคงสภาพหยุดนิ่งหรือการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทำ หรือมี แต่ผลรวมของแรงภายนอก (แรงลัพท์) เท่ากับศูนย์” วัตถุอยู่ในภาวะ “สมดุล”

ถ้าวัตถุใดอยู่นิ่ง หรือ มีความเร็วคงที่ แสดงว่า วัตถุนั้น 1 ไม่มีแรงใด มากระทำ 2 มีแรง(ภายนอก)มากระทำ มากกว่า 1 แรงขึ้นไป แต่ผลรวมของแรงเหล่านั้น (แรงลัพธ์) เป็นศูนย์

เมื่อวัตถุอยู่ในกฏข้อ 1 ของนิวตัน ( ภาวะสมดุล )

กฏนิวตันข้อ 1 นี้ ใช้ได้เฉพาะกรณีผู้สังเกตอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เทียบกับจุดหรือแกนอ้างอิงที่ปราศจากความเร่ง ซึ่งเราเรียกแกนอ้างอิงนี้ว่า กรอบเฉื่อย

กฏนิวตันข้อ 2 “ถ้าผลรวมของแรงภายนอก(แรงลัพท์)ไม่เท่ากับศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง โดยความเร่งมีทิศเดียวกับทิศแรงลัพธ์และมีขนาดเป็นปฏิภาคผกผันกับมวล” อย่าลืม ความเร่ง มีทิศเดียวกับทิศแรงลัพธ์เสมอ แต่แนวการเคลื่อนที่มีทิศใดก็ได้

4 kg วัตถุมีความเร็วไม่คงที่ เส้นทางเคลื่อนที่อาจไม่เป็นเส้นตรง แต่ความเร่งจะคงที่เสมอ โดยมีทิศเดียวกับแรงลัพธ์

กฏนิวตันข้อ 3 “ ทุกแรงกิริยา จะมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเท่ากันแต่ทิศตรงข้ามเสมอ”

ลักษณะสำคัญของแรงกิริยาและปฏิกิริยา 1 เกิดพร้อมๆกัน หายไปพร้อมๆ กัน 2 มีการเกิดเป็นเหตุซึ่งกันและกัน 3 เมื่อพูดกลับ จะเป็นชื่อของอีกแรงหนึ่ง เช่น ถ้าแรงที่เราดึงวัตถุเป็นแรงกิริยา แรงที่วัตถุดึงเราจะเป็นคู่ปฏิกิริยา

ตัวอย่างแรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยาที่สำคัญ แรงที่ดาวดึงวัตถุ = แรงกิริยา แรงที่วัตถุดึงดาว = แรงปฏิกิริยา

ตัวอย่างแรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยาที่สำคัญ แรงวัตถุกดพื้น = แรงกิริยา แรงพื้นดันวัตถุ = แรงปฏิกิริยา

ตัวอย่างแรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยาที่สำคัญ แรงเพดานดึงเชือก=ปฏิกิริยา เพดาน เพดาน แรงเชือกดึงเพดาน=กิริยา แรงเชือกดึงวัตถุ=กิริยา แรงวัตถุดึงเชือก=ปฏิกิริยา