อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
รหัส หลักการตลาด.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
กลไกราคากับผู้บริโภค
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
การวางแผนกำลังการผลิต
System Development Lift Cycle
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การนำเสนอผลงานต่อณะ กรรมการตัดสินรางวัล STI THAILAND AWARD ประเภท วิสาหกิจชุมชน.
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications

Example 1 สมมติว่าท่านอยู่ในตลาดของไปรษณียบัตร อีก 30 วันจะมีการเปิดให้ส่งไปรษณียบัตรชิงโชคลุ้นฟุตบอลแมนยูกับทีมชาติ โดยมีรางวัลสำหรับผู้โชคดี 10 ล้านบาท แล้วกลไกการปรับตัวของดุลยภาพตลาดจะเป็นอย่างไร จงอธิบายโดยใช้ภาพประกอบ

S E’ P’ E P D’ D Q Q’ ระยะสั้น 5 -10 วัน ราคาไปรษณียบัตร ปริมาณไปรษณียบัตร

S S’ E’ P’ E E’’ P D’ D Q Q’ Q’’ ระยะยาว ยาวกว่า 5 -10 วัน ราคาไปรษณียบัตร S S’ E’ P’ E E’’ P D’ D Q Q’ Q’’ ปริมาณไปรษณียบัตร

Example 2 สมมติให้ D และ S เป็นเส้นอุปสงค์และอุปทานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หากต่อมามีการออกกฎหมายคุ้มครอง Software และมีการกวดขันต่อ Software เถื่อน ทำให้ไม่มีการขาย CD เถื่อนได้เลย ( ซวย ) ถามว่าจะมีผลกระทบอย่างไรต่อเส้น Demand และ Supply ของ PC

ระยะสั้น ราคา PC S E P E’ P’ D D’ Q’ Q ปริมาณ PC

ระยะยาว ราคา PC S’ S E P E’ P’ D D’ Q’’ Q’ Q ปริมาณ PC

Example 3 ให้ D และ S เป็นเส้นอุปสงค์และอุปทานของคอฟฟี่เมต หากในปีหน้ารัฐบาลขึ้นภาษีแก่ผู้ผลิตกาแฟ ตลอดจนเก็บภาษีแก่ผู้ที่ซื้อกาแฟดื่มเพิ่มขึ้น ทำให้ราคากาแฟมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แล้วอุปสงค์และอุปทานของคอฟฟี่เมต จะเป็นอย่างไร นอกจากนี้หากคิดว่าชาเป็นสินค้าทดแทนกาแฟ แล้วจะมีผลกระทบอย่างไร

คอฟฟี่เมต ราคา คอฟฟี่เมต S’ S E P E’ P’ D D’ Q’ Q ปริมาณคอฟฟี่เมต

ชา ราคาชา S S’ E’ P’ E P D’ D Q Q’ ปริมาณชา

Example 4 ให้ D และ S เป็นอุปสงค์และอุปทานของตลาดแรงงาน ( นักวิทยาศาสตร์ ) หากรัฐบาลมีการส่งเสริมให้บริษัทมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีการดูแลเรื่องของสิ่งแวดล้อมและต้องมีความทันสมัย ( นั่นคือต้องการนักวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น ) เส้นอุปสงค์และอุปทานในตลาดแรงงานนี้จะมีผลกระทบอย่างไร ( วิเคราะห์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว )

S P’ E’ E P D’ D Q Q’ นักวิทยาศาสตร์ ค่าแรงนักวิทยาศาสตร์ ปริมาณนักวิทยาศาสตร์

S S’ E’ P’ E P D’ D Q Q’ นักวิทยาศาสตร์ ค่าแรงนักวิทยาศาสตร์ ปริมาณนักวิทยาศาสตร์

Example 5 จากข้อที่ 5 กลับมาสู่โลกความเป็นจริง หากรัฐบาลไม่สนับสนุนในด้านเทคโนโลยี กลับมาให้ความสำคัญในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ โดยการให้ทุกบริษัทต้องจ้างนักเศรษฐศาสตร์ ( มธ. ) ( ซึ่งก็ควรเป็นเช่นนั้นมานานแล้ว ) ในอัตราค่าตัวที่สูงขึ้นเป็น 3 เท่า จะส่งผลกระทบอย่างไรทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่ออุปสงค์และอุปทานของนักวิทยาศาสตร์และนักเศรษฐศาสตร์

S’ S P E P’ E’ D D’ Q’ Q นักวิทยาศาสตร์ ค่าแรงนักวิทยาศาสตร์ ปริมาณนักวิทยาศาสตร์

Example 6 สมมติว่าท่านอยู่ในตลาดสินค้าเกษตรที่มีการลงมือเพาะปลูกไปแล้ว ( ซึ่งอุปทานตลาดจะไม่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าราคาจะเป็นเท่าไร ) หากต่างประเทศต้องการสินค้านั้นเป็นอย่างมาก ดุลยภาพตลาดจะเปลี่ยนเป็นอย่างไร จงอธิบายโดยใช้แผนภาพประกอบ

ราคาผลไม้ S E’ P’ P E D’ D Q ปริมาณผลไม้