สรุปวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร (HCRD Paradigm in Organization) 02190551 ผศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ
กระบวนทัศน์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กระบวนทัศน์ = paradigm (ราชบัณฑิต,2542) กรอบความคิด แนวทางทั่วไปที่ใช้ในการมองโลก ระบบคิด วิธีคิด แบบของการคิดที่ใช้เป็นแนว ในการศึกษาวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
กระบวนทัศน์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาองค์กร เริ่มแต่ปลายศตวรรษที่ 19 สังคมอุตสาหกรรม มีโครงสร้างที่แน่นอน มีกฎเกณฑ์และเวลาอย่างมีระเบียบแบบแผน มุ่งให้ผลผลิตมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ เสมือนมนุษย์เป็นเครื่องจักรกล
ทฤษฎีที่เป็นรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่มา : Richard A.Swanson Elwood F.Holton, 2001
ทฤษฎีองค์กรสมัยดั้งเดิม การบริหารแบบวิทยาศาสตร์ การบริหารงานตามหน้าที่ POCCC POSDCORB MODEL ระบบราชการ ฯลฯ
ทฤษฎีองค์กรสมัยใหม่ ทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์ ทฤษฎีการจูงใจ ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ทฤษฎีสองปัจจัย ทฤษฎีความคาดหวัง ทฤษฎีความขัดแย้ง ฯลฯ
ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Theory) - ทฤษฎีการขาดแคลนทรัพยากร (Scarce Resource Theory) - ทฤษฎีทรัพยากรที่ยั่งยืน (Sustainable Resource Theory) - ทฤษฎีทุนมนุษย์ (Human Capital Theory) ทฤษฎีระบบ (System Theory)
ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน ทฤษฎีทางจิตวิทยา (Psychological Theory) - ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavism Theory) - ทฤษฎีคอกนิทิฟวิสซึม (Cognitivism Theory) - ทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanism Theory) - ทฤษฎีคอนสตัคทิวิสซึม (Constructivism Theory) ฯลฯ
เทคนิคการพัฒนาองค์กร การปรับรื้อระบบ (reengineering) การคิดใหม่ (rethinking) การออกแบบใหม่ (redesign) การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ (reorganization) การเทียบเคียงมาตรฐาน (benchmarking) การมอบอำนาจ (empowering) การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม (TQM) การจัดการความรู้ (KM)
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การสรรหาคัดเลือก การพ้นจากงาน การบรรจุ/ใช้ การฝึกอบรมพัฒนา การประเมินผล การรักษา/จูงใจ สวัสดิการ การเลื่อนตำแหน่ง ค่าตอบแทน
กาลามสูตร 10 ประการ 1.อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ฟังๆ กันมา 2.อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ทำต่อๆ กันมา 3.อย่าเพิ่งเชื่อตามคำเล่าลือ 4.อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างตำรา 5.อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกเดา 6.อย่าเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเนเอา 7.อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกคิดตามแนวเหตุผล 8.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะถูกกับทฤษฎีของตน 9.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะมีรูปลักษณ์ที่ควรเชื่อได้ 10.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะผู้พูดเป็นครูบาอาจารย์ของตน
การประเมินผลการเรียน นำเสนอทฤษฎีและแนวคิด 30 % นำเสนอบทความ 30 % การเข้าร่วมและอภิปราย 10 % สอบปลายภาค 30 % วันเสาร์ 5 มี.ค.54 เวลา 14.00-17.00 น.
การประเมินผลการสอน สะท้อนผลตามกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา ให้ข้อเสนอแนะที่ “สร้างสรรค์” เพื่อปรับปรุงต่อไป ไม่ใช่ที่ “ต่อว่า/ด่า/ลบหลู่/ดูถูก” ครูบาอาจารย์ ปราศจาก “อคติ” (ความชอบ/ไม่ชอบส่วนตัว)
...ขออวยพรให้สำเร็จการศึกษา มีงานทำ มีครอบครัว มีความสุข มีความสำเร็จในชีวิต “ดำรงชีวิตอย่างพอเพียง”