สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ปฏิรูปการเมือง สถาบันทางการเมือง สิทธิเสรีภาพ ยุติธรรม เศรษฐกิจ
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
หลักการและเหตุผล ชุมชนท้องถิ่นเป็นสังคมฐานราก ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ.
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
การเลือกตั้ง (Election)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
YOUR SUBTITLE GOES HERE
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
สารอธิบดี ฉบับที่ 10/2548 สวัสดีครับ อีกไม่กี่วันก็จะเป็นวันสิ้น ปีงบประมาณ และพวกเราที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ที่สำนักงาน สรรพากรพื้นที่สาขาก็อาจมีงานหนักขึ้นกว่าปกติเล็กน้อยจาก.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
1 การประชุมประจำเดือน ข้าราชการสำนักงานปศุสัตว์ จังหวัดนครพนม หัวหน้า หน่วยงานในสังกัด กรมปศุ สัตว์ ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๗ วัน พุธ ที่ ๓๐.
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
๑. ด้านส่งเสริมจิตสำนึกราชการใสสะอาด
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ”
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนจาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
จุดเด่น / จุดขาย ของร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช.....
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
บทบาทด้านนิติบัญญัติ
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด และปราบปรามผู้มีอิทธิพล
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิของพลเมืองไทย ตามรัฐธรรมนูญ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....

สาระสำคัญ ๔ แนวทาง ๑. การคุ้มครอง ส่งเสริม และการขยายสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอย่างเต็มที่ ๒. การลดการผูกขาดอำนาจรัฐและขจัดการใช้อำนาจอย่าง ไม่เป็นธรรม ๓. การทำให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม ๔. การทำให้ระบบตรวจสอบมีความเข้มแข็ง และทำงานอย่าง มีประสิทธิภาพ

๑. การคุ้มครอง ส่งเสริม และการขยายสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนอย่างเต็มที่ ๑.๑ เพิ่มประเภทสิทธิและเสรีภาพให้มากขึ้นกว่าเดิม ๑.๒ ทำให้การใช้สิทธิและเสรีภาพง่ายขึ้นกว่าเดิม ๑.๓ ทำให้การใช้สิทธิและเสรีภาพมีประสิทธิภาพและมีมาตรการคุ้มครองอย่างชัดเจน ๑.๔ ทำให้แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐมีความชัดเจนรอบด้าน และผูกพันรัฐมากกว่าเดิม ๑.๕ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงานของท้องถิ่นและกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับประเทศ

๒. การลดการผูกขาดอำนาจรัฐและ ขจัดการใช้อำนาจอย่างไม่เป็นธรรม ๒.๑ เสริมสร้างอำนาจทางการเมืองให้แก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนเป็น “ผู้เล่น” มิใช่ “ผู้ดู” ทางการเมืองอีกต่อไป ๒.๒ จำกัดการผูกขาดและการใช้อำนาจที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาล ๒.๓ ให้คนดีมีความสามารถเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และเป็นอิสระจากการครอบงำของพรรคการเมือง เพื่อทำหน้าที่ผู้แทนประชาชนอย่างเต็มที่

๒. การลดการผูกขาดอำนาจรัฐและ ขจัดการใช้อำนาจอย่างไม่เป็นธรรม ๒.๔ ให้สมาชิกวุฒิสภาปลอดจากอิทธิพลของพรรคการเมืองอย่างแท้จริง ๒.๕ ห้ามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาแทรกแซงข้าราชการประจำ

๓. การทำให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม ๓. การทำให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม ๓.๑ บัญญัติหมวดคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐไว้อย่างชัดเจน ๓.๒ กำหนดมาตรการเพื่อไม่ให้มีผลประโยชน์ทับซ้อน ทางการเมือง ๓.๓ การแสดงทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมืองมีความเข้มข้นขึ้น

๓. การทำให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม ๓. การทำให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม ๓.๔ ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง ในกรณีที่ศาล มีคำพิพากษาได้ง่ายขึ้น ๓.๕ ห้ามประธานสภา รองประธานสภา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีดำเนินการในลักษณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน

๔. การทำให้องค์กรตรวจสอบมีความอิสระ เข้มแข็ง และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๑ ปรับปรุงระบบการสรรหาองค์กรตรวจสอบ เพื่อให้ได้ คนที่มีความเป็นอิสระอย่างแท้จริง ๔.๒ ปรับปรุงอำนาจหน้าที่และระบบการทำงานขององค์กรตรวจสอบให้ดียิ่งขึ้น ๔.๓ จัดให้มีระบบการตรวจสอบการทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ