ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge) บทที่ 1 นัวตกรรมกับความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
Activity #1
ซีกซ้าย - ช่วยในการใช้ภาษาพูด การวิเคราะห์ สมอง 2 ส่วน ซีกซ้าย - ช่วยในการใช้ภาษาพูด การวิเคราะห์ การจัดลำดับก่อนหลัง การเรียนรู้ ภาษาและคณิตศาสตร์ ซีกขวา - ช่วยเรื่องภาษา ท่าทาง จินตนาการ ไหวพริบและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การคิดสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ
สมองซีกขวา ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะก่อนอายุ 3 ขวบ สมอง 2 ส่วน ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ (Knowledge) 1. ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) 3. ความรู้ที่ฝังอยู่ในองค์กร(Embedded Knowledge)
บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ - พยายามถามคำถามและหาคำตอบใหม่ ๆ ที่กระตุ้นความคิด ตลอดเวลา - พยายามคิดโดยการอุปมาเปรียบเทียบ (Analogy) - พยายามคิดในรูปแบบของความเป็นไปได้ - เรียนรู้จากการอ่านอย่างสร้างสรรค์ - ศึกษาอย่างเป็นระบบในกระบวนการของนวัตกรรม - เต็มใจรับ โดยไม่คาดหวัง - ไม่คิดว่ามีคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียวเท่านั้น
ลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ บุคคลที่สร้างสรรค์ ใช้เวลาหลายปีในการสร้าง ความเชี่ยวชาญในสาขาของตน การศึกษา การศึกษาไม่จำเป็นต่อความคิดสร้างสรรค์ การศึกษาก่อให้เกิดการใช้ตรรกะมีความโน้มเอียงที่ ขัดขวางต่อความคิดสร้างสรรค์
สติปัญญา บุคคลที่สร้างสรรค์ไม่จำเป็นต้องมีไอคิวสูง เป็นผู้ที่มีความสามารถ ในการใช้สติปัญญาฉับไวต่อปัญหา มีความยืดหยุ่น มีการคิดเชิงมโนภาพและการสังเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร บุคลิกภาพ เป็นผู้ที่ยอมรับความเสี่ยง มีความเป็นอิสระ ยืนหยัด มีแรงจูงใจสูง ชอบสงสัยยอมรับความคิดใหม่ สามารถอดทนต่อภาวะกำกวม เชื่อมั่นตนเอง สามารถอดทนต่อความโดดเดี่ยว
วัยเด็ก มีประสบการณ์ในวัยเด็กทีพบกับเหตุการณ์แตกต่างกัน หลาย ๆ เหตุการณ์ เช่น ครอบครัวแตกแยก ฐานะครอบครัวขึ้นลง นิสัยทางสังคม ไม่ใช่ชอบคิดเรื่องตนเองหรือต่อต้านผู้อื่น และชอบที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลอื่น
องค์ประกอบความคิดสร้างสรรค์ 1. ความเชี่ยวชาญ (Expertise) อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ AT&T 2. ทักษะความชำนาญสร้างสรรค์ (Creativity Skills) Wire PhONE Wireless Phone SMS MMS Camera PDA MP3 3. งานที่จูงใจ (Task Motivation) $$$$ Ex. Liquid Paper
การจัดการเพื่อให้บุคคลมีความคิดสร้างสรรค์ 1. การสร้างการยอมรับการเปลี่ยนแปลง 2. การสนับสนุนความคิดใหม่ 3. การเปิดโอกาสให้มีการปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น 4. การอดทนต่อความล้มเหลว 5. การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนและการให้อิสระ ในการปฏิบัติเพื่อบรรลุความสำเร็จ 6. การแสดงคุณค่าของความคิดสร้างสรรค์
เทคนิคการฝึกอบรมที่สำคัญที่ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 1. เทคนิคการกระตุ้น (Fluency Techniques) 2. เทคนิคการเบี่ยงเบน (Excursion Techniques) 3. เทคนิคผู้บุกเบิกรูปแบบ(Pattern Breakers) 4. เทคนิคการระดมสมอง (Brainstorming) 5. เทคนิคความสัมพันธ์ที่ถูกบังคับ (Forced Relationship)
Any Problem ????