รองศาสตราจารย์ ระพีพรรณ คำหอม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง : สิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางสังคม และการปกครองโดยหลักนิติธรรม จัดโดย สถาบันเพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย และ ศูนย์สันติภาพและความขัดแย้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รอบรู้อาเซียน.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
การพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กสู่ประชาคมอาเซียน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ประชาคมอาเซียน.
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การค้ามนุษย์.
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ความสัมพันธ์ไทยกับ อาเซียน 22 ธันวาคม อาเซียน.
ร่าง แผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๔ 1.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Asean Economics Community : AEC
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองศาสตราจารย์ ระพีพรรณ คำหอม วิชา บส. 724 เรื่อง พันธกรณีเกี่ยวข้องกับนโยบาย แผนพัฒนา แผนยุทธศาสตร์สวัสดิการสังคม โดย รองศาสตราจารย์ ระพีพรรณ คำหอม วันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม 2554

ประเด็น 1. พันธกรณีระหว่างประเทศ “กรอบแนวคิดด้านสวัสดิการ สังคม” 1. พันธกรณีระหว่างประเทศ “กรอบแนวคิดด้านสวัสดิการ สังคม” 2. พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน 3. พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสตรี พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับผู้พิการ พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับผู้ยากไร้/คนไร้ที่พึ่ง 6. พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 7. สิทธิของผู้ป่วย 2

การใช้พันธกรณีเป็นตัวควบคุม กำกับ พัฒนากลไกของงานการจัดสวัสดิการสังคมให้มีคุณภาพภายใต้มาตรฐานการจัดสวัสดิการสังคม ข้อตกลง (Agreement) การจัดสวัสดิการสังคม อนุสัญญา (Conventions) พิธีสาร (Protocols) ปฏิญญา (Declaration) หลักการ (Principles) แนวทาง (Guidelines) แนวทาง การคุ้มครองสวัสดิภาพกลุ่มเป้าหมาย มาตรฐาน(Standard) มาตรฐานการจัดสวัสดิการสังคม กฎบัตร (Charter) - กฎบัตรออตตาวา - กฏบัตรไนโรบี Bangkok ข้อรับรอง (Recommendations) ( ว่าด้วยสิทธิเด็ก / คนพิการ/สตรี คนพิการ / ผู้สูงอายุ สิทธิมนุษยชน / การไม่เลือกปฏิบัติ / ความเสมอภาค - ความเท่าเทียมกัน 1. องค์การสวัสดิการสังคม 2. นักสังคมสงเคราะห์ 3. อาสาสมัคร / ISO 26000 ด้านสุขภาพ สังคมอาเซียน แนวปฏิบัติ (Guidance) ความร่วมมือต่อการป้องกันการค้ามนุษย์ 3

1. พันธกรณีระหว่างประเทศ “กรอบแนวคิดด้านสวัสดิการสังคม พันธกรณีระหว่างประเทศ “กรอบแนวคิดด้านสวัสดิการสังคม” ที่สำคัญและมีการอ้างอิงในการจัดสวัสดิการสังคม ประกอบด้วย 1. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) 2. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights) 4

1. พันธกรณีระหว่างประเทศ “กรอบแนวคิดด้านสวัสดิการสังคม 3. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) 4. ปฏิญญาว่าด้วยความก้าวหน้าทางสังคมและการ พัฒนา (Declaration on Social Progress and Development) 5. ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิในการพัฒนา (Declaration on the Right to Development) 6. ปฏิญญาสหประชาชาติแห่งสหัสวรรษ (United Nations Millennium Declaration) 5

7. ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ. 2552 - 2558 1. พันธกรณีระหว่างประเทศ “กรอบแนวคิดด้านสวัสดิการสังคม หรือ เป้าหมายแห่งการพัฒนาสหัสวรรษ (Millennium Development Goals - MDGs) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม 7. ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ. 2552 - 2558 6

7. ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ. 2552 - 2558 1. พันธกรณีระหว่างประเทศ “กรอบแนวคิดด้านสวัสดิการสังคม หรือ เป้าหมายแห่งการพัฒนาสหัสวรรษ (Millennium Development Goals - MDGs) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม 7. ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ. 2552 - 2558 7

2. ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ. ศ. 2522-2558 (ค. ศ 2. ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน พ.ศ. 2522-2558 (ค.ศ. 2009-2015) ความเป็นมาของอาเซียน 8

แผนที่ตั้งประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ 9

รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน แผนที่ตั้งประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สัญลักษณ์ของอาเซียน รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีผลผลิต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง 10

นโยบายการดำเนินงานของอาเซียน ด้านสังคม อาเซียนมีความร่วมมือเฉพาะด้าน (Function cooperation) ภายใต้สังคมและวัฒนธรรมที่ครอบคลุมในหลายด้าน เพื่อให้ประชาชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต อาทิ ความตกลงด้านการค้ามนุษย์ 11

นโยบายการดำเนินงานของอาเซียน (ต่อ) กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย ข้อบทต่างๆ 13 บท 55 ข้อ มีประเด็นใหม่ที่แสดงความก้าวหน้าของอาเซียน ได้แก่ 1. การจัดตั้งองค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน 2. การให้อำนาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่องและรายงานการทำตาม ความตกลงของรัฐสมาชิก 3. การจัดตั้งกลไกสำหรับการระงับข้อพิพาทต่างๆ ระหว่างประเทศ สมาชิก 4. การให้ผู้นำเป็นผู้ตัดสินว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อรัฐผู้ละเมิด พันธกรณีตามกฎบัตรฯ อย่างร้ายแรง 5. การเปิดช่องให้ใช้วิธีการอื่นในการตัดสินใจได้หากไม่มีฉันทามติ 6. การส่งเสริมการปรึกษาหารือระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อแก้ไข ปัญหาที่กระทบต่อผลประโยชน์ร่วม ทำให้การตีความหลักการห้าม แทรกแซงกิจการภายในมีความยืดหยุ่นมากขึ้น 12

นโยบายการดำเนินงานของอาเซียน (ต่อ) นโยบายการดำเนินงานของอาเซียน (ต่อ) 7. การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซียนเพื่อให้อาเซียน สามารถตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างทันท่วงที 8. การเปิดช่องให้อาเซียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับองค์กร ภาคประชาสังคมมากขึ้น 9. การปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น ให้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน 2 ครั้งต่อปี จัดตั้ง คณะมนตรีเพื่อประสานความร่วมมือ และการมี คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำอาเซียนที่กรุงจาการ์ตา เพื่อลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการประชุมของอาเซียน เป็นต้น 13

ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ได้กำหนดกรอบไว้ 3 ลักษณะ ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) 3. ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) 14

ประชาคมอาเซียน (ต่อ) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Asean Socio-Cultural Community Blueprint) ประกอบด้วยความร่วมมือ 6 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) 2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) ประกอบด้วย การขจัดความยากจนโดยเฉพาะการ บรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDG) ของ สหประชาชาติ เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มภัย จากผลกระทบด้านลบจาก การรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัตน์ ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้านอาหาร เข้าถึงการดูแล สุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ การเพิ่มศักยภาพใน การควบคุมโรคติดต่อ รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด และการ สร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น 15

ประชาคมอาเซียน (ต่อ) 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Right) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เด็ก ผู้สูงอายุและผู้พิการ การคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิ แรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของ องค์กรธุรกิจ เป็นต้น 4. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building on Asian Identity) 6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development - GAP) โดยมีการประชุมรายสาขาระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ระดับ รัฐมนตรี และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 16

พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน ที่สำคัญประกอบด้วย อนุสัญญาและพิธีสาร ดังนี้ 1. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ.1789 (Convention on the Rights of the Child – CRC) 2. พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเรื่อง การค้า เด็ก การค้าประเวณี และสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก (Optional Protocol to the Convention on the Rights of the Child on the sale of Children, Child Prostitution and Child Pornography : CRC-OPSC) 3. พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเรื่องความ เกี่ยวพันของเด็กในความขัดแย้งกันด้วยอาวุธ 17

3. พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสตรี พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสตรี เป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจและมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นในสังคมโลก พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสตรีที่เป็นที่รู้จักและถูกนำมาใช้ในแต่ละประเทศ มีดังนี้ 1. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุก รูปแบบ ค.ศ. 1979 (Convention on The Elimination of all forms of Discrimination Against Woman – CEDAW) 2. ปฏิญญาว่าด้วยการขจัดซึ่งความรุนแรงต่อสตรี (Declaration on the Elimination of Violence against Woman) 18

3. พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสตรี (ต่อ) 3. ปฏิญญาปักกิ่งและแผนปฏิบัติการเพื่อความก้าวหน้าของ สตรี ค.ศ. 1995 (Beijing Declaration and Platform for Action – BDPA) ให้ความสำคัญกับข้อเสนอให้ประเทศ สมาชิกใช้ยุทธศาสตร์การผลักดันให้ความเสมอภาคทางเพศ เป็นกระแสหลักของการพัฒนาประเทศในการจัดทำนโยบาย แผน โครงการพัฒนากฎหมาย ตลอดจนการดำเนินงานและ การทำงานร่วมกันระหว่างหญิงชาย ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (สำนักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัว, 2552, น. 27) 19

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ค. ศ อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ค.ศ.1979 (Convention on the Elimination of all forms of Discrimination Against Women - CEDAW) อนุสัญญาฉบับนี้มีทั้งหมด 30 มาตรา เพื่อให้ประเทศสมาชิกใช้เป็นแนวการกำหนดนโยบายและมาตรการการดำเนินงานด้านนิติบัญญัติ ตุลาการ การบริหาร หรือมาตรการอื่นๆ เกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี และให้หลักประกันว่าสตรีจะต้องได้รับสิทธิประโยชน์และโอกาสต่างๆ จากรัฐ บนพื้นฐานของความเสมอภาคกับบุรุษ ประเทศไทยได้ร่วมลงนามในอนุสัญญาฉบับนี้เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2522 ปัจจุบันมีประเทศร่วมลงนามทั้งหมด 99 ประเทศ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2528 ประเทศไทยขอยกเว้นไม่ผูกพันตามอนุสัญญา 7 ข้อ ได้แก่ 20

1. ความเสมอภาคทางการเมืองและการรับตำแหน่งทาง ราชการ (อนุสัญญาข้อ 7) อนุสัญญาว่าด้วยการจัดการเลือกปฏิบัติฯ (ต่อ) 1. ความเสมอภาคทางการเมืองและการรับตำแหน่งทาง ราชการ (อนุสัญญาข้อ 7) 2. การถือสัญชาติของบุตร (อนุสัญญาข้อ 9) 3. ความเสมอภาคทางการศึกษา (อนุสัญญาข้อ 10) 4. สิทธิและโอกาสที่จะได้รับการจ้างงานชนิดเดียวกัน (อนุสัญญาข้อ 11) 5. การทำสัญญาทางกฎหมายซึ่งมุ่งจำกัด (restriction) ความสามารถทางกฎหมายของสตรีถือว่าไม่ได้และเป็น โมฆะ (อนุสัญญาข้อ 15) 6. การสมรสและความสัมพันธ์ทางครอบครัว (อนุสัญญาข้อ 16) 7. การตีความในการระงับข้อพิพาท หรือการใช้อนุสัญญาฉบับ นี้ (อนุสัญญาข้อ 29) 21

4. พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับผู้พิการ พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับผู้พิการที่สำคัญ มีดังนี้ 1. ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการไทย 2. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการว่าด้วยสิทธิผู้พิการ (Optional Protocol to the Convention on the Rights of Persons with Disabilities : OP – CRPD) ประกอบด้วย - แผนปฏิบัติการสำหรับผู้พิการ (World Programme of Action on Disabled Persons) - กฎมาตรฐานในการสร้างความเสมอภาคทางโอกาส สำหรับบุคคลผู้พิการ (Standard Rules on the Equalization of Opportunities for Persons with Disabilities) 22

2. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights with Disabilities - CRPD) 23

สิทธิคนพิการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ ข้อ 10 สิทธิในชีวิต คนพิการทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตตั้งแต่กำเนิด ข้อ 12 คนพิการมีสิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์สิน ข้อ 14 เสรีภาพและความมั่นคงของบุคคล ข้อ 15 เสรีภาพจากการถูกทรมานหรือย่ำยีศักดิ์ศรี ข้อ 16 เสรีภาพจากการใช้ความรุนแรง คนพิการต้องได้รับการคุ้มครอง การช่วยเหลือ สนับสนุนที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการถูกแสวงหา ประโยชน์ ข้อ 17 การคุ้มครองบูรณภาพของบุคคล คนพิการทุคนมีสิทธิได้รับการ เคารพในบูรณาภาพทางร่างกายและจิตใจเท่าเทียมกับบุคคลอื่น ข้อ 18 เสรีภาพในการโยกย้ายถิ่นฐานและการถือสัญชาติ คนพิการมี เสรีภาพ ในการโยกย้ายถิ่นฐาน มีสิทธิ์ในการได้สัญชาติและ เปลี่ยนแปลงสัญชาติ ข้อ 19 การเป็นส่วนหนึ่งในชุมชน ข้อ 20 คนพิการจะมีการเคลื่อนไหวส่วนบุคคลได้ ต้องมีการอำนวย ความสะดวกให้มีเครื่องช่วยการเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตและ สื่อกลาง 24

สิทธิคนพิการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ ข้อ 21 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการเข้าถึงสารสนเทศ คนพิการ มีเสรีภาพที่จะพูด หรือแสดงความเห็น ข้อ 22 การเคารพความเป็นส่วนตัว ข้อ 23 การสร้างครอบครัวและสถาบันครอบครัว คนพิการสามารถสมรส และสร้างครอบครัว กำหนดจำนวนบุตร ต้องได้รับความรู้เกี่ยวกับ การเจริญพันธุ์และการวางแผนครอบครัว ข้อ 24 การศึกษา ข้อ 25 สุขภาพ คนพิการ ข้อ 26 การส่งเสริมสมรรถภาพและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ข้อ 27 งานและการจ้างงาน ข้อ 28 มาตรฐานความเป็นอยู่และความคุ้มครองทางสังคมอย่างเพียงพอ ข้อ 29 การมีส่วนร่วมทางการเมืองและเรื่องสาธารณะ ข้อ 30 การมีส่วนร่วมทางวัฒนธรรม นันทนาการ และการกีฬา 25

5. พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับผู้ยากไร้/คนไร้ที่พึ่ง พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับผู้ยากไร้/คนไร้ที่พึ่ง ถือเป็นพันธกรณีที่มีการกล่าวถึงและในประเทศไทยให้ความสำคัญน้อยกว่าใน 5 พันธกรณีข้างต้น ประกอบด้วย 1. อนุสัญญาว่าด้วยการช่วยเหลือด้านอาหาร (Food Aid Convention) 2. ปฏิญญาว่าด้วยถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ (Vienna & Istanbul Declaration on Human Settlements) 3. ปฏิญญาว่าด้วยเมืองและถิ่นที่อยู่อาศัยอื่นๆ ยุคสหัสวรรษ ใหม่ (Declaration on Cities and Other Human Settlements in the Millennium) 4. ปฏิญญาสากลว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับ HIV/AIDS (Declaration of Commitment on HIV/AIDs) 26

Add your company solgan Thank You ! Add your company solgan