ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แฟนพันธุ์แท้เรขาคณิต
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
สื่อการเรียนเรขาคณิต
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระที่ 4 พีชคณิต.
สรุปภาพรวมหน่วยคณิตศาสตร์
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
การวางแผนและการดำเนินงาน
Decision Tree Analysis
ระบบอนุภาค.
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
รูปเรขาคณิต สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
เศษส่วน.
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
คณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหา
การแจกแจงปกติ.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
นายเชิดศักดิ์ ตั้นภูมี (คบ. จุฬาฯ กศ.ม. มศว.)
รวมสูตรพื้นที่ผิว และปริมาตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พื้นที่ผิว และปริมาตร
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
หลักการเขียนโครงการ.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติ และสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผล เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต(geometric model) ในการแก้ปัญหา

ตัวชี้วัด สาระที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 3 ตัวชี้วัด สาระที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 3 มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 1. บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เป็นส่วนประกอบของสิ่งของที่มี ลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ 2. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่กำหนดให้ 3. เขียนชื่อจุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุมและเขียนสัญลักษณ์ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา 1. เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กำหนดให้ในแบบต่างๆ 2. บอกรูปเรขาคณิตต่างๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

ตัวอย่างแบบฝึกทักษะกระบวนการคิดเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการคิดคำนวณ สาระที่ 3 เรขาคณิต

ข้อที่ 1 จากรูป พื้นผิวด้านหน้าและพื้นผิวด้านหลัง ประกอบด้วย รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรวมทั้งหมดกี่รูป พร้อมให้เหตุผล ตอบ 12 รูป

วิธีการหาคำตอบแบบที่ 1 6 + 6 = 12 จำนวนผิวด้านหน้าของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จำนวนผิวด้านหลังของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส การหาคำตอบวิธีที่ 1 ใช้วิธีการนับจำนวนผิวของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทั้งสองด้าน แล้วนำมารวมกัน จึงได้ผลลัพธ์ ดังกล่าว

จำนวนของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมด วิธีการหาคำตอบแบบที่ 2 6 x 2 = 12 จำนวนของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมด จำนวนผิวด้านหน้าและด้านหลังของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแต่ละรูป การหาคำตอบวิธีที่ 2 ใช้วิธีการนับจำนวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทั้งหมด แล้วนำมาคูณกับจำนวนผิวด้านหน้า และด้านหลังของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแต่ละรูป จึงได้ผลลัพธ์ดังกล่าว

ข้อที่ 2 แพนเค้ก ไปเที่ยวสวนสัตว์ เธอต้องการให้เส้นทางเดินดูสัตว์เป็นรูปสี่เหลี่ยม จากแผนภาพที่กำหนดให้ แพนเค้กต้องเลือกทางเดินดูสัตว์ได้อย่างไรบ้าง

วิธีการหาคำตอบ 1 2 5 1 1 5 2 5 2 3 4 2 3 5 4 1 3 4 3 4

ข้อที่ 3 กำหนดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ดังภาพ ถ้าลากเส้นตาม แกนสมมาตรทุกเส้น จะได้รูปสี่เหลี่ยมรูปเล็กที่สุดกี่รูป

เส้นตรงที่แบ่งรูปออกเป็นสองข้างที่สามารถ พับรูปทั้งสองมาทับกันสนิทพอดี แกนสมมาตร คือ เส้นตรงที่แบ่งรูปออกเป็นสองข้างที่สามารถ พับรูปทั้งสองมาทับกันสนิทพอดี

วิธีการหาคำตอบ 2 1 ตอบ 4 รูป 3 4 รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีแกนสมมาตร 2 แกน เมื่อลากเส้นตรง ตามแกนสมมาตรแล้ว จะทำให้เกิดรูปสี่เหลี่ยมที่เล็กที่สุด ดังภาพข้างต้น

ข้อที่ 4 จากรูป จงหาว่าผลต่างของจำนวนรูปที่ใช้มากที่สุด กับรูปที่ใช้น้อยที่สุด เท่ากับเท่าใด

วิธีการหาคำตอบแบบที่ 1 รูปสี่เหลี่ยม มีจำนวน 5 รูป รูปสามเหลี่ยม มีจำนวน 20 รูป รูปวงกลม มีจำนวน 2 รูป รูปที่มีจำนวนมากที่สุด คือ รูปสามเหลี่ยม รูปที่มีจำนวนน้อยที่สุด คือ รูปวงกลม ดังนั้น ผลต่างรูปที่มีจำนวนมากที่สุดกับจำนวนน้อยที่สุด คือ 20 – 2 = 18 การหาคำตอบวิธีที่ 1 แก้ปัญหาโดยวิธีการนับจำนวนรูปเรขาคณิต แต่ละชนิดแล้วพิจารณาว่ารูปเรขาคณิตชนิดใด มีจำนวนมากที่สุดและน้อยที่สุด จากนั้น นำจำนวนที่ได้มาหาผลต่าง ดังแสดงข้างต้น

วิธีการหาคำตอบแบบที่ 2 รูปสี่เหลี่ยม มีจำนวน 5 รูป รูปสามเหลี่ยม มีจำนวน 20 รูป [(6 x 2)+8] = 20 รูปวงกลม มีจำนวน 2 รูป รูปที่มีจำนวนมากที่สุด คือ รูปสามเหลี่ยม รูปที่มีจำนวนน้อยที่สุด คือ รูปวงกลม ดังนั้น ผลต่างรูปที่มีจำนวนมากที่สุดกับจำนวนน้อยที่สุด คือ 20 – 2 = 18 การหาคำตอบวิธีที่ 2 – การนับจำนวนรูปเรขาคณิต - การบวก และการคูณ

ข้อที่ 5 จงหาจำนวนรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งหมด จากรูปข้างล่างต่อไปนี้ 4 11 3 5 12 13 2 10 6 14 15 16 1 9 8 7

17 21 22 20 18 19 23

24 27 26 25 ตอบ 27 รูป

คณะผู้จัดทำ สาระที่ 3 เรขาคณิต 1. นางศิริรัตน์ จันนันทะ โรงเรียนบ้านบ่อหอย 2. นางชุลีกร เชียงปะละ โรงเรียนดอนสะไมย์วิทยา 3. นายจตุรภัทร คำรศ โรงเรียนภูเค็งพัฒนา

The End ขอบคุณค่ะ