แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การลงบันทึกกิจกรรมนวดไทย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
แนวทางการดำเนินงานแพทย์แผนไทย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการการแพทย์แผนไทย สปสช.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ศูนย์แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร.
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สรุปผลงาน คณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง(CFO) เขตบริการสุขภาพที่ 10
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
ปีงบประมาณ ให้ส่งข้อมูลรูปแบบ 18 แฟ้ม สนย. อย่างเดียว โดยแยกข้อมูลที่ส่งออกเป็น 2 ชุด 1. ชุดข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) ได้แก่ แฟ้ม Person,
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารงบแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2557 สำนักงานหลักประกันภาพแห่งชาติ เขต 10 อุบลราชธานี 15 ตุลาคม 2556

กรอบแนวทางการบริหารงบ ปี 2557 ประเด็น รายละเอียด เป้าประสงค์ ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขด้วยการใช้บริการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีบริการแพทย์แผนไทยที่มีคุณภาพและปลอดภัยคู่ขนานไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อให้มีการใช้ยาจากสมุนไพรที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการcertifyระดับCUP ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน เน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ มาตรการ ส่งเสริมให้มีบริการเวชกรรมแผนไทยโดยนักการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการประจำ ส่งเสริมให้มีการทำหัตถการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาในหน่วยบริการและบริการเชิงรุกในชุมชน รวมถึงการทำหัตถการเพื่อฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด ส่งเสริมให้หน่วยบริการประจำและเครือข่ายใช้ยาจากสมุนไพรเพิ่มขึ้น รวมถึงการใช้ยาจากสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบันในบางรายการที่ทดแทนกันได้ สนับสนุนและร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข สถาบันทางวิชาการ องค์กรเอกชนในการพัฒนาบริการ TTM สนับสนุนกลไกบริหารจัดการระดับจังหวัดในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยอย่างครบวงจร พัฒนาข้อมูล การกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

แผนผังการจัดสรรค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี 2557 POP UC = 48.852 ล้านคน บริการการแพทย์แผนไทย 8.19 บ./ปชก.สิทธิ UC 400.098 ลบ. 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม 7.62 บ/ปชก. 372.252 ลบ. 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 0.57 บ./ปชก. 27.846 ลบ. งบพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ จัดสรรให้หน่วยบริการละ 150,000 บาท จ่ายเพิ่มเติมให้จังหวัดนำร่องต้นแบบแพทย์แผนไทยที่มีความพร้อมอย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด จัดสรรเพื่อสนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. ตามโครงการนำร่องของกรมพัฒน์ฯ จำนวน 225 แห่งๆละ 1.8 แสนบาทต่อปี (บริหารจัดการงบโดยสปสช.ส่วนกลาง) จัดสรรตามเกณฑ์ผลงานบริการ สนับสนุนเขตในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยในพื้นที่ 13 เขตๆ ละ 2 ลบ สนับสนุน สปสช.ส่วนกลาง เพื่อพัฒนาระบบบริการฯ โดยร่วมมือกับสธ. สถาบันทางวิชาการ องค์กรเอกชน รวมทั้งพัฒนาข้อมูล การกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

งบค่าบริการแพทย์แผนไทยปี 2556 สปสช.เขต 10 บริการแพทย์แผนไทย 8.19 บ. /ปชก. สิทธิ UC 33,547,005 บาท 2. งบสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ 2,000,000 บาท 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม ปชก. : ผลงานเดิม ในสัดส่วน 50:50 31,547,005 บาท พัฒนาระบบบริการ TTM เสนอรวม 1.1 + 1.2 + 1.3 1.เกณฑ์ศักยภาพ 1,500,000 2.จังหวัดนำร่องต้นแบบ TTM 1,000,000 3.เกณฑ์ผลงานบริการ 29,047,005

ตัวชี้วัดปีงบประมาณ 2557 ตัวชี้วัด ผลงาน ปี 2556 เป้าหมาย ปี 2557 1.จำนวนหน่วยบริการที่เป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมีแพทย์แผนไทยประจำมีการ certify ระดับ Cup 400แห่ง (34) 590 แห่ง 2.ร้อยละของประชาชนได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 (40.76) ร้อยละ 20 3.ร้อยละของ รพ.สต. ที่มีบริการแพทย์แผนไทยพื้นฐาน เน้นการใช้ยาพื้นฐาน 5 รายการ ร้อยละ 60 ร้อยละ 75.82 (74.06) ร้อยละ 70

สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556 รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 (เพิ่มขึ้น 0.99) ปี 2557 (เพิ่มขึ้น 0.99) 1. งบประมาณ สัดส่วน ปชก.: ผลงาน =70:30 (ค่าบริการ) งบส่งเสริมฯ : จัดสรรตามประชากร UC สัดส่วน ปชก. : ผลงาน=50:50 (ค่าบริการ) งบส่งเสริมฯ : สปสช. เขตละ 2 ล้านบาท 2. หลักเกณฑ์เงื่อนไข จัดสรรตามเกณฑ์ศักยภาพแก่หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ของส่วนกลางและเกณฑ์ระดับพื้นที่ จัดสรรตามผลงานบริการ กำหนดเกณฑ์การจ่ายโดย สปสช.เขต 1. จัดสรรตามเกณฑ์ศักยภาพแก่หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ของส่วนกลาง (เพิ่มเกณฑ์) และเกณฑ์ระดับพื้นที่ 2. จัดสรรตามผลงานบริการ กำหนดเกณฑ์การจ่ายโดย สปสช.เขต 3. การ payment Payment โดย สปสช.เขต 4. การบริหาร จัดการข้อมูล สปสช.เขตดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล และบริหารจัดการข้อมูลเอง

หลักเกณฑ์ เงื่อนไข อัตราการจ่ายค่าบริการ หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับงบ เงื่อนไข อัตราการจ่าย เกณฑ์ศักยภาพ หน่วยบริการประจำ (CUP) ต้องผ่านเกณฑ์กลางและผ่านเกณฑ์ระดับพื้นที่ เป็นไปตามอัตราที่ อปสข.เห็นชอบ จ่ายให้จังหวัดต้นแบบนำร่อง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เขตละอย่างน้อย 1 จังหวัด สนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. 225 แห่ง หน่วยบริการระดับรพ.สต. รพ.สต. ที่มีแพทย์แผนไทย ตามโครงการนำร่องของกรมพัฒน์ฯ ไม่เกิน 180,000 บาท/รพสต./ปี เกณฑ์ผลงานบริการ หน่วยบริการทุกแห่งที่มีผลงานบริการ เป็นไปตามหลัก เกณฑ์เงื่อนไขที่ อปสข.เห็นชอบ

แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม 1.1 จัดสรรตามความพร้อมด้านศักยภาพในการจัดบริการ เวชกรรมไทยในหน่วยบริการประจำ เกณฑ์กลาง : มีแพทย์แผนไทยประจำ ณ หน่วยบริการ (คำว่า แพทย์แผนไทยหมายถึง ผู้ที่จบปริญญาตรีแพทย์แผนไทยและมีใบประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรมไทย หรือผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์) มีการจัดตั้งคลินิกเวชกรรมไทย ณ หน่วยบริการนั้น มีป้ายที่เห็นได้ชัดเจน ประชาชนเข้าถึงง่าย ตามมาตรฐานของกรมพัฒน์ฯ จะต้องมีแผนงานดำเนินงานและการสนับสนุนเครือข่าย เช่น แผนการให้บริการ แผนการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็น (การสนับสนุนบุคลากร เรื่องยาสมุนไพร การจัดสรรงบค่าบริการให้แก่หน่วยบริการปฐมภูมิ ตามผลงานบริการจริง) เกณฑ์เขต ...ไม่มีเกณฑ์เขต... จำนวนงบประมาณที่จะให้ไม่เกิน 150,000 บาทต่อแห่ง

แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม 1.1 จัดสรรตามความพร้อมด้านศักยภาพในการจัดบริการ เวชกรรมไทยในหน่วยบริการประจำ จังหวัด หน่วยบริการปี 2556 เป้าปี 2557 มุกดาหาร มุกดาหาร ดอนตาล นิคมคำสร้อย หว้านใหญ่ (4) 1 อำนาจเจริญ อำนาจเจริญ พนา ปทุมราชฯ ชานุมาน (4) ศรีสะเกษ อุทุมพรฯ กันทรลักษ์ ยางชุมน้อย ห้วยทับทัน ขุนหาญ (5) - ยโสธร ยโสธร ค้อวัง นพ.หาญ กุดชุม เลิงนกทา คำเขื่อนแก้ว (6) 2 อุบลราชธานี สรรพสิทธิ์ 50 พรรษา ม่วงสามสิบ เขื่องใน ดอนมดแดง ตระการฯ กุดข้าวปุ้น พิบูลฯ โขงเจียม สิรินธร วารินฯ สำโรง เดชอุดม นาจะหลวย ตาลสุม (15) 6

แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม 1.2 จ่ายตามเกณฑ์ให้จังหวัดต้นแบบนำร่องแพทย์แผนไทย ที่มีผลงานตามเกณฑ์ เขตละ 1 จังหวัด งบประมาณ 1,000,000 บาท กรอบเงิน & กรอบกิจกรรม จัดสรรให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อัตราการจ่ายเป็นไปตามที่อปสข.เห็นชอบ การบริหารจัดการ สปสช. ส่วนกลาง กำหนดกรอบแนวทาง/รูปแบบการดำเนินงานจังหวัดต้นแบบแพทย์แผนไทยระดับเขต สปสช.เขต กำหนดกรอบแนวทางเพิ่มเติมระดับพื้นที่ โดย ความเห็นชอบของ อปสข. และบริหารจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และแนวทางที่กำหนด

แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม 1.3 สนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยในรพ.สต. กรอบเงิน & กรอบกิจกรรม จัดสรรเพื่อสนับสนุนการจัดบริการของแพทย์แผนไทยใน รพสต. อัตราการจ่าย 1.8 แสนบาท/แห่ง/ปี จำนวน 225 แห่งตามโครงการนำร่องของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การบริหารจัดการ สปสช.ส่วนกลาง กำหนดหลักเกณฑ์ แนวทางและเงื่อนไขการจัดสรร และจัดสรรงบประมาณตามเกณฑ์ที่กำหนด สปสช.เขต ติดตามผลการดำเนินงานในระดับพื้นที่ และบริหารจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และแนวทางที่กำหนด

หน่วยบริการที่ได้รับงบสนับสนุนการจัดบริการ หน่วยบริการละ 180,000 บาท จำนวน 16 แห่ง

หน่วยบริการที่ได้รับงบสนับสนุนการจัดบริการ หน่วยบริการละ 180,000 บาท จำนวน 16 แห่ง

แนวทางการบริหารงบค่าบริการเพิ่มเติม 1.4 จัดสรรตามเกณฑ์ผลงานบริการ กรอบเงิน & กรอบกิจกรรม จัดสรรให้กับหน่วยบริการที่มีผลงานบริการ - การใช้ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด นวด ประคบ อบสมุนไพรเพื่อการรักษาผู้ป่วยในหน่วย บริการ และเพื่อฟื้นฟูร่างกายด้วยการแพทย์แผนไทยแก่ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุใน ชุมชน การบริหารจัดการ ส่วนกลาง สนับสนุนข้อมูลและวิชาการที่เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์กลาง, ติดตามประเมินผลภาพรวม สปสช.เขต กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางการจัดสรร โดยผ่านความเห็นชอบของ อปสข.

การใช้ยาสมุนไพร จัดสรรให้ทุกหน่วยบริการ จากการใช้ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ โดยที่มีการสั่งใช้ยา 1 รายการ คิดเป็น 1 คะแนน

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การใช้ยาสมุนไพร การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล สิทธิ UC ในพื้นที่เขต 10 อุบลราชธานี ต้องไม่ตายก่อนมารับบริการ ต้องไม่อยู่ระหว่าง Admit ในรพ. มีรหัสยาสมุนไพรที่ถูกต้อง เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (ED TYPE = 1)

บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด จัดสรร 2,500 บาท /ชุดบริการ ต้องสมัครเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการและผู้ ให้บริการต้องมีผู้มีใบประกอบโรคศิลปะ ด้านผดุงครรภ์ไทย/นวดไทย หรือ แพทย์แผนไทยประยุกต์เท่านั้น (1 ชุดบริการต้องครบ 5 visit และแต่ละ visit ต้องทำให้ครบ 5 กิจกรรมและต้องทำภายในเวลา 3 เดือนหลังคลอด) การบันทึกข้อมูลต้องลงรหัสหัตถการให้ครบ 5 กิจกรรม สมัครเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการใหม่พร้อมยีนยันข้อมูลหน่วยบริการเดิมโดย ให้สสจ.รวบรวมส่งสปสช.เขต ภายใน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูลที่นำมาจ่ายแม่หลังคลอดเริ่ม 1 ตุลาคม 2556 จ่ายแบบเป็นโควต้า กรณีเกินโควต้าให้เฉลี่ยกันในวงเงินนั้น

บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด เงื่อนไขหลัก จ่ายต่อ 1 package ได้ 1 แต้ม ถ้าไม่ครบไม่จ่าย - 1 package ประกอบด้วย 1.1 บริการต่อเนื่อง 5 ครั้ง 1.2 บริการทุกครั้งได้รับครบ 5 กิจกรรม 1.3 วันบริการต้องไม่ห่างจากวันคลอดเกิน 90 วัน วันแรกของการทำทับหม้อเกลือ - กรณีคลอดปกติ 2+ วัน - ผ่าคลอด 30+ วัน 1.4 DX ต้องมี U ด้วย ไม่จำเป็นต้องเป็น DX หลัก 1.5 ระยะห่างของแต่ละครั้งต้องไม่เกิน 7 วัน

บริการฟื้นฟูแม่หลังคลอด การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ผู้รับบริการต้องเป็นสิทธิ UC ในพื้นที่เขต 10 อุบลราชธานี ผู้รับบริการต้องไม่ตายก่อนมารับบริการและต้องไม่อยู่ระหว่าง Admit ในโรงพยาบาล ผู้ให้บริการต้องเป็นผู้มีใบประกอบโรคศิลป์เท่านั้น เป็นหน่วยบริการที่สมัครและผ่านการอนุมัติเข้าร่วมให้บริการมารดาหลังคลอด ตรวจสอบหัตถการต้องเป็นหัตถการที่ให้บริการมารดาหลังคลอด(9007712,9007713,9007714,9007716,9007730) CID ผู้รับบริการต้องมีในฐานข้อมูลประชากรของ สนบท.หรือ สปสช. SEX ผู้รับบริการ ต้องเป็นเพศหญิง

การบริการนวด อบ ประคบ 1. การให้บริการในหน่วยบริการ - นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 0.5 คะแนน - อบไอน้ำสมุนไพร ครั้งละ 0.5 คะแนน กรณีถ้ามีการทำหัตถการประคบและอบในวันเดียวกัน จะตัดให้เฉพาะหัตถการใดหัตถการหนึ่งเท่านั้น 2. การให้บริการนอกหน่วยบริการ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคเรื้อรัง (DM HT) ผู้พิการ ผู้สูงอายุในชุมชน - นวด ครั้งละ 1.5 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 1.2 คะแนน 3. ค่า K คิดเหมือนปี 56 4. หน่วยบริการต้องผ่านการประเมินการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิในหมวด 5.7 ด้วย

การคำนวณค่า K ของหน่วยบริการ K= (0.8xA) + (0.2xB)+ C A คือ จำนวนผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ประจำในหน่วยบริการนั้น B คือ จำนวนผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่จบหลักสูตรอย่างน้อย 330 ชม.ขึ้นไป C คือ A:B โดยกำหนดไว้ดังนี้ กรณีที่ 1 สัดส่วน 1 : น้อยกว่าหรือเท่ากับ 4 คะแนน C = 2.0 กรณีที่ 2 สัดส่วน 1 : 5-10 คะแนน C = 0.5 นำค่า K คูณผลรวม Point + Point เดิม = Point ที่นำไปคิดเงิน ให้ทุกหน่วย update ข้อมูลบุคลากรผ่านโปรแกรม TTM online ที่หน้า web ภายใน 30 พฤศจิกายน 2556

การบริการ นวด อบ ประคบ การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล หน่วยบริการต้องผ่านการประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ข้อ 5.7 ต้องเป็นสิทธิ UC ในพื้นที่เขต 10 อุบลราชธานี ผู้รับบริการต้องไม่ตายก่อนมารับบริการ และไม่อยู่ระหว่าง Admit ในโรงพยาบาล CID ผู้รับบริการต้องมีในฐานสปสช.หรือสนบท. CID ผู้ให้บริการต้องมีในฐานทะเบียนราษฎร์ และตรงกับที่สสจ.ส่งให้สปสช. ผู้ให้บริการ 1 คน นวดได้ไม่เกิน 5 คนต่อวัน กรณีเกิน 5 จ่ายให้ 5 ตามเวลาบันทึกข้อมูล ต้องมีการบันทึกข้อมูลหัตถการแพทย์แผนไทย(หัตถการ 7 หลัก) ต้องมีการบันทึกข้อมูลการวินิจฉัยโรค(รหัสโรคแผนปัจจุบันหรือรหัสโรคแผนไทย) ผู้รับบริการสามารถมารับบริการได้ไม่เกิน 1 ครั้ง/วัน

งบจัดสรรตามผลงานบริการปีงบประมาณ 2557 แบ่งสัดส่วนงบเหมือนปีงบประมาณ 2556 กิจกรรม ร้อยละ งบประมาณ 1.นวด อบ ประคบ 60% 17,971,405.00 2.ยาสมุนไพร 30% 8,173,600.00 3.การฟื้นฟูแม่หลังคลอด 10% 2,900,000.00 รวม 100% 29,045,005.00

ระบบรายงานข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปี 2557 Programs ข้อมูล นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด (กรณี OP) ยาสมุนไพร / มูลค่ายาสมุนไพร บุคลากรแผนไทย (ผู้ประกอบโรคศิลปะ ,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย) การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (แผนไทย) OP/PP Individual /Province /21 แฟ้ม Program TTM Data Center

แฟ้มที่เกี่ยวข้องกับบริการแผนไทย << สีแดง>> แฟ้มที่เกี่ยวข้องกับบริการแผนไทย << สีแดง>> ข้อมูลมาตรฐาน 21 แฟ้ม (เวอร์ชัน 5.0 1 ก.ค. 2555) PERSON SERVICE ANC DEATH DIAG PP CHRONIC DRUG MCH HOME PROCED EPI CARD SURVEIL FP WOMAN APPOINT NUTRI NCDSCREEN LABFU CHRONICFU ต้องส่งข้อมูลถูกต้องตามมาตรฐานการส่งข้อมูล OP/PP

รอบประมวลผลการจ่าย กรณี นวด อบ ประคบ และการใช้ยาสมุนไพร คิดเป็น point งวดที่ 1 ใช้ข้อมูล กรกฎาคม 2555-กันยายน 2556 เพื่อมา Prepaid 50% ของวงเงิน จ่ายชดเชยภายใน 30 ธันวาคม 2556 งวดที่ 2 ใช้ข้อมูล กรกฎาคม 2556-มิถุนายน 2557 ตัดข้อมูลภายใน 30 กรกฎาคม 2557 จ่ายชดเชยภายใน 30 สิงหาคม 2557

กรณีการจ่ายงวดที่ 1 แล้วไม่ได้ครบตามโควตา รอบประมวลผลการจ่าย กรณี ฟื้นฟูแม่หลังคลอด งวดที่ 1 ใช้ข้อมูล 1 ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557 ตัดข้อมูลภายใน 30 เมษายน 2557 จ่ายชดเชยภายใน 30 พฤษภาคม 2557 กรณีการจ่ายงวดที่ 1 แล้วไม่ได้ครบตามโควตา งวดที่ 2 ใช้ข้อมูล 1 เมษายน 2557 – มิถุนายน 2557 ตัดข้อมูลภายใน 30 กรกฎาคม 2557 จ่ายชดเชยภายใน 30 สิงหาคม 2557

ความถูกต้องของข้อมูล การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ จาก Data center การให้บริการจาก OP/PP ผู้ให้บริการจาก TTM online และยืนยันข้อมูลผ่านสสจ.

ผู้ประสานงาน การขอ U/P IT จังหวัด พี่แก้ว : ประสิทธิ์ บุญเกิด พี่แก้ว : ประสิทธิ์ บุญเกิด โปรแกรม/การส่งข้อมูล E-mail : prasit.b@nhso.go.th Tel 084-7512773 ม่าเหมี่ยว : ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ ผู้รับผิดชอบงาน E-mail : chalini.p@nhso.go.th Tel 090-1975237 การขอ U/P IT จังหวัด

ขอบคุณค่ะ www.nhso.go.th