การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
การสร้างความผูกพัน (กอด)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
เทคนิคการเป็นวิทยากรอบรมเข้มเสริมประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิทยาการจัดการ
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
การสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนชาวไทย Assistant Professor Dr. Christopher Johnson
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
สื่อการเรียนการสอน.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หลักสูตร เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี สถาบันราชานุกูล

2 ก 2 ล กิน เล่า กอด เล่น

Parent education

กิน เล่น เต้น วาด

การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ สะท้อนความคิด/อภิปราย ประยุกต์แนวคิด ความคิดรวบยอด 10

การสอนความรู้แบบมีส่วนร่วม องค์ประกอบ กิจกรรม ประสบการณ์ ประสบการณ์เดิม จัดประสบการณ์ให้ : ตรง/อ้อม สะท้อนความคิดและอภิปราย ตั้งประเด็นให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อสรุป ความรู้ใหม่ ที่ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ไม่ใช่เพียงการจำ ความคิดรวบยอด บรรยาย / แจกใบความรู้ / ดูสื่อ ฯลฯ ข้อสรุปจากการอภิปราย แลกเปลี่ยนความเห็น รายงานผลกลุ่ม ประยุกต์แนวคิด ผลิตซ้ำความคิดรวบยอดที่เกิดขึ้นในลักษณะที่ต่าง จากเดิม เช่น เขียนรายงาน ทำแผ่นภาพ วาดรูป เล่าเรื่อง ฯลฯ

เจตคติ มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรม เจตคติ เป็น “ความคิดความเชื่อ” ที่มี “ความรู้สึก” เป็นองค์ประกอบ เจตคติ มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรม หรือ การกระทำของมนุษย์

ขั้นตอนและกิจกรรมการสอนเจตคติ ขั้นสร้างความรู้สึก ประสบการณ์ - สื่อ/กิจกรรมสร้างความรู้สึก - เปิดเผยตนเอง ขั้นจัดระบบความคิดความเชื่อ สะท้อนความคิด & อภิปราย : อภิปรายสรุป ความคิดรวบยอด : สรุป ประยุกต์แนวคิด : กิจกรรมประยุกต์

สื่อ / กิจกรรมสร้างความรู้สึกที่ดี สร้างความตระหนัก หรือ สร้างความรู้สึกทางบวก (สะเทือนใจ / เห็นอกเห็นใจ) เป็นเรื่องใกล้ตัวผู้เรียน สอดคล้องกับจุดประสงค์

ประเด็นอภิปรายที่ดี สอดคล้องกับสื่อ/กิจกรรมสร้างความรู้สึก เน้นเรื่องคุณค่า/ความคิดเห็น/ความรู้สึก/ ความเชื่อ ท้าทาย/กระตุ้นให้เกิดความคิดที่หลากหลาย ใกล้ตัว ผลที่ตามมา นึกถึงอนาคต คิดแย้ง/(เปลี่ยนเจตคติ) นำไปสู่ข้อสรุปที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

ทักษะ เป็นความสามารถที่คนเราไม่เคยมีมาก่อน แต่ได้เรียนรู้ ฝึกฝน จนกระทั่งทำได้อย่างชำนาญ วิเคราะห์ขั้นตอน รู้ชัดเห็นจริง สาธิต ลงมือกระทำ

ขั้นตอนและกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะ ขั้นรู้ชัดเห็นจริง ความคิดรวบยอด บรรยาย ประสบการณ์ สาธิต/สถานการณ์จำลอง/ กรณีศึกษา สะท้อนความคิด & อภิปราย วิเคราะห์ขั้นตอน/ องค์ประกอบทักษะ ขั้นลงมือกระทำ ประยุกต์แนวคิด ฝึกปฏิบัติ ประเมินผล