สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
sp2 Hybridization ของ CH2=CH2 (Ethylene)
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
sp3 Hybridization of CH3CH3 (Ethane)
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
sp3 Hybridization of CH4 (Methane)
ความเป็นเบสของ Amines(Basicity of Amines)
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
การพัฒนาเว็บ.
พันธะเคมี Chemical bonding.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
แนวโน้มของตารางธาตุ.
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
การคิดและการตัดสินใจ
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
พันธะเคมี.
Chapter 4 Methods in Molecular Modelling
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ MO’s จะมีพลังงานต่าง ๆ กัน การบรรจุหรือจัดเรียง valence electrons ทั้งหมดของโมเลกุลลงใน MO’s ต่าง ๆใช้หลักการเหมือน การจัดเรียงของelectrons ใน orbs ของอะตอม electrons ใน MO’s จะ delocalized ไปทั้ง

โมเลกุลเรียก delocalized MOT หา bond order จากสูตร* Orbital Hydbidization : เป็นหลักการใช้เสริมทฤษฏี MOT และ VBT เกี่ยวกับรูปร่างของโมเลกุล เพื่อสนับสนุนและอธิบายได้สอดคล้องกับรูปร่าง จริง ของโมเลกุลที่ได้จากการทดลอง (ในกรณีที่โมเลกุลมีอะตอม > 3 อะตอม)

จำนวน hybrid orbs ที่ได้ = จำนวน AO.’s ที่นำมาผสมกันเสมอ ก่อนที่อะตอมกลางจะใช้ valence AO’s ไปoverlap กับ orbs ของอะตอมข้างเคียงอะตอมกลางจะจัด รูปร่างและทิศทางของ orbs ใหม่ โดยเกิดการผสม (mixing) ระหว่าง AO’s ของอะตอมกลางเอง ออร์บิทัลผสม (hybrid orbs) ชนิดต่าง ๆ (sp, sp2, sp3, sp3d2 ...)ซึ่งมีจำนวน รูปร่าง และทิศทาง (ทำมุมซึ่งกันและกัน) ต่างกัน จำนวน hybrid orbs ที่ได้ = จำนวน AO.’s ที่นำมาผสมกันเสมอ ได้ hybridisation

ในการสร้างออร์บิทัลผสมไม่จำเป็นต้องใช้ valence AO’s ทั้งหมด orbs ผสมชนิดเดียวกัน (เช่น ชนิด sp2 มี 3 orbs) จะมีสมบัติ พลังงานและรูปร่าง เหมือนกันทุกประการ ออร์บิทัลผสมเป็นออร์บิทัลของอะตอมกลางเท่านั้น

VSEPR : เป็นหลักการใช้เสริมทฤษฏี MOT และ VBT เกี่ยวกับรูปร่างโมเลกุลเช่นเดียวกับหลักการ Orbital Hybridization ซึ่งอธิบายรูปร่างของโมเลกุลที่มีทั้ง bp และ lp ได้ดีสอดคล้องกับรูปร่าง จริง ของโมเลกุลที่ได้จากการทดลอง VSEPR เกี่ยวข้องกับแรงผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนที่ล้อมรอบอะตอมกลาง

N2, N : 2s2 N : 2s2 Bond order =

x x x x z z y y y y px py 2s2, lp : Nบ์N: 2s2, lp

กรณีโมเลกุลที่มี > 3 อะตอม BeH2, Be : 2s1 sp hybridization Ha : 1s1 Hb : 1s1 โมเลกุลมี bp = 2, lp = 0

ได้ orbs ผสมของ Be 2 orbs : ซึ่งทำมุมซึ่งกันและกัน 180o (เส้นตรง) x : แกนหลัก H-Be-H

bp = 3, lp = 0 sp2 hybridization BH3, B : 2s1 H : 1s1 bp = 3, lp = 0 sp2 hybridization

ได้ออร์บิทัลผสมชนิด sp2 3 orbs : และกัน

NH3, N : 2s2 H : 1s1 bp = 3, lp = 1 sp3 hybridization

ได้ orbs ผสมของ N 4 orbs : N :

ทำมุม 109.5o ซึ่งกันและกัน Tetrahedral เนื่องจากมี lp. = 1 คู่ ได้รูปร่างโมเลกุล : Trinonal pyramid ซึ่งมีมุม < 109.5o เล็กน้อยคือ107.5o

SF4 bp = 4, lp = 1 sp3d hybridization SF4

bp = 4, lp = 1 sp3d hybridization ได้ orbs ผสมของ S ทั้งหมด 5 orbs : เป็น orb. ผสมของอะตอมกลาง orbs. ผสมทั้ง 5 ชี้ไปตามทิศทางของรูปคู่พีระมิดร่วมฐานสามเหลี่ยม (trigonal bipyramidal)

มี lp. 1 คู่ รูปร่างโมเลกุล : ไม้กระดานหก F F F F มี lp. 1 คู่ รูปร่างโมเลกุล : ไม้กระดานหก

สรุป p.15 ใน sheet (โมเลกุลใด มีขั้วไม่มีขั้ว) Hydrocarbon : p 16-18 ใน sheet C2H6 sp3 H3C-CH3 C2H4 sp2 H2C=CH2 C2H2 sp HCบCH C6H6 sp2

Valence Bond Theory สรุป เมื่อพิจารณาอะตอมที่เคลื่อนที่เข้ามาใกล้กัน จะมีแรงกระทำระหว่าง e- เดี่ยวเกิดขึ้น หรือพูดอีกลักษณะว่า มีการ overlap กันของ 2 AO’s ที่ต่างก็มี e- เดี่ยว e- เดี่ยวทั้งสองสามารถเคลื่อนที่ไปรอบนิวเคลียสทั้งสองได้ (delocalized) และต้องมี spin ตรงกันข้าม จึงจะมีแรงดึงดูดกันเกิดขึ้น (ถ้า spin ขนานกัน จะไม่เกิดพันธะ จะเกิดแรงผลักทำให้ระบบมีพลังงานสูง) ซึ่งทำให้ระบบมีพลังงานต่ำกว่าพลังงานของแต่ละอะตอมที่แยกกันอยู่ ความหนาแน่นของ e- ระหว่างนิวเคลียสจะมีมาก

จะเห็นได้ว่า VBT, A.O’s ที่เต็มแล้ว ไม่มีส่วนที่เกี่ยวข้องในการทำให้เกิดพันธะ การเกิดพันธะเกี่ยวข้องเฉพาะ orb. ที่มี e- เดี่ยว overlap กัน หรือกล่าวได้ว่า แต่ละอะตอมในโมเลกุลยังคงรักษาเอกลักษณ์ของตัวเองไว้เป็นส่วนใหญ่ orb. ที่มี e- ไม่เต็มเท่านั้นเป็นสมบัติของโมเลกุลโดยเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสทั้งสองทฤษฎี VBT คล้าย lewis structure ซึ่งพันธะเกิดจากการใช้ e- คู่หนึ่งร่วมกัน แต่ VBT เป็นแนวคิดที่ได้จากกลศาสตร์ควอนตัม ซึ่งเป็นการ overlap กันของ 2 AO’s

ต่างกับทฤษฏี MOT ซึ่งนำทุก valence e- ของแต่ละอะตอมในโมเลกุลมาใส่ใน MO’s ดังนั้นกรณี MOT valence e-,s ทั้งหมด เป็นสมบัติของโมเลกุล VBT บางครั้งใช้อธิบายโมเลกุลที่เกิด resonance ไม่ได้ และบางครั้งก็ทำนายสมบัติทางแม่เหล็กผิดไป เนื่องจาก VBT เน้นการจับคู่ของ e-

ที่เหมือนกันคือ ทั้ง MOT และ VBT อธิบายการเกิดพันธะโดยเกิดจากการ overlap ของ AO’s และเป็นแนวคิดที่ได้จาก กลศาสตร์ ควอนตัมทั้งคู่

ตัวอย่าง โมเลกุลที่อธิบายการเกิดพันธะโดย VBT F2, F : 2s2 F : 2s2 x x 2pz + 2pz 1 s bond z s y y