ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจ พอเพียง.
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
1 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน พฤศจิกายน 2554.
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
นโยบายและการกำกับดูแลพลังงาน จากมุมมองของค่าไฟฟ้า
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
กลยุทธ์ เด็ด รักษ์ พลังงาน สร้าง จิตสำนึก. แหล่ง แหล่ง พลังงานของไทย เมืองไทย เราอุดมสมบรูณ์ทุกอย่าง จริงมั้ย ? จริง แต่ จริง ไม่หมด รู้หรือไม่ ? เราพึ่งพาตัวเองไม่ได้
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
ความมั่นคงด้านการจัดหาปิโตรเลียมและ
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
สรุปการประชุมระดมความคิด
การปฏิบัติที่สำคัญซึ่งสัมพันธ์กับความมั่นคง (ด้านเศรษฐกิจ)
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
การประชุมหารือเพื่อผลักดันการดำเนินงาน ตามแผนแม่บทแก้ไขปัญหาการทำลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐ และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน.
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว  เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน วันที่ 28 มีนาคม 2557 เวลา 15.00-16.30 น. ห้องประชุมสิริคุณากร 3 ชั้น 2 

เรื่องจริงของประเทศ…พลังงาน กว่าจะเข้าใจก็…สายเสียแล้ว เรื่องจริงของประเทศ…พลังงาน กว่าจะเข้าใจก็…สายเสียแล้ว คนไทยใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง **** ปี 2555 เพิ่มขึ้นเท่ากับเขื่อนภูมิพล 3 เขื่อน **** ** จำเป็นต้องสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ เพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นและเพื่อทดแทนโรงไฟฟ้า เดิมที่หมดอายุการใช้งาน ** ไทยใช้ก๊าซธรรมชาติผลิตไฟฟ้ามากที่สุด ในอนาคตจำเป็นต้องกระจายสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงให้สมดุล มากยิ่งขึ้น หากลดการใช้ก๊าซผลิตไฟฟ้าลงไม่ได้ ต้องนำเข้าก๊าซ LNG ซึ่งแพงอีกเท่าตัว ค่าไฟฟ้าสูงขึ้น แน่นอน ** พลังงานลม แสงอาทิตย์ ยังไม่สามารถใช้เป็นการผลิตไฟฟ้าหลักแทนโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงสิ้น เปลืองได้

ภาพรวมพลังงานไทย เป็นประเทศที่บริโภคพลังงานมากเป็นอันดับสองในกลุ่มอาเซียนรองจากอินโดนีเซีย ความต้องการพลังงานเติบโตโดยเฉลี่ยปีละ 2.3% จนถึงปีพ.ศ.2573 ต้องพึ่งพิงพลังงานประเภทซากพืชและสัตว์ (fossil) สูงมาก - น้ำมันสำหรับการคมนาคมและขนส่ง ร้อยละ 67 - ก๊าซธรรมชาติสำหรับการผลิตไฟฟ้า ร้อยละ 65 ประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน(energy elasticity) ยังไม่ดีพอ - 0.98 ในปี 2554 ทรัพยากรธรรมชาติด้านพลังงานในประเทศมีจำกัด - ผลิตน้ำมันดิบได้เอง 2.1 แสนบาร์เรล/วัน ในขณะที่มีความต้องการ 8 แสน บาร์เรล/วัน - ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติในประเทศใช้ไปได้อีกไม่เกิน 20 ปี ตามอัตรา การใช้ในปัจจุบัน

การใช้พลังงานแยกตามสาขาเศรษฐกิจ ภาคการเกษตร( Agriculture) 5.2 % ภาคพาณิชย์ ( Commercial) 7.9 % ภาคครัวเรือน (Residential) 15.5% ภาคการขนส่ง(Transport) 35.2% ภาคอุตสาหกรรม (Industry) 36.4%

แผนยุทธศาสตร์การบริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2555 – 2558 ได้กำหนดให้มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มี อัตลักษณ์ มีคุณภาพ มาตราฐานความเป็นเลิศ เป็นที่ยอมรับของสังคม ในระดับนานาชาติโดยมีเป้าหมายที่สำคัญ คือเป็นมหาวิทยาลัยที่มีสุขภาวะ การจัดการองค์กรที่ดี สามารถเป็นต้นแบบที่ดี จึงได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ระบบบริหารจัดการที่ดี กลยุทธ์ที่ 1 มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี โดยมีมาตราการที่3 มีระบบการประหยัดพลังงานที่ดี และกำหนดตัวชี้วัดเกี่ยวกับปริมาณพลังงานไฟฟ้าโดยมีเป้าหมายลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานลงอย่างน้อย 10 % ต่อปี พร้อมดำเนินการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง