ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร ตอนที่ 6 การจูงใจ การจูงใจคืออะไร “การจูงใจ” หมายถึง การกระทำทุกวิถีทางที่จะทำให้ ผู้ปฏิบัติงานเกิดพฤติกรรมในทางที่ต้องการ “การจูงใจ” จึงเป็นเหมือน เป็นแรงขับภายในที่ทำให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการทำงานที่ถูกต้องและเป็นไปตามที่องค์การคาดหวัง
การจูงใจ พื้นฐานที่สำคัญในการจูงใจ ผู้นำ การจูงใจ พื้นฐานที่สำคัญในการจูงใจ ความต้องการ (Needs) แรงขับ (Drives) พฤติกรรม (Behavior) เป้าหมาย (Goals)
ผู้นำ การจูงใจ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจูงใจ “แนวคิดพื้นฐานความต้องการของมนุษย์” 1. ความต้องการทางร่างกาย 2. ความต้องการความปลอดภัย 3. ความต้องการทางสังคม 4. ความต้องการได้รับรับความยกย่องสรรเสริญ 5. ความต้องการความสำเร็จสมหวังในชีวิต
ผู้นำ การจูงใจ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจูงใจ “การจ่ายค่าตอบแทนเป็นรายชิ้นของงาน การให้โบนัสกับผู้ปฏิบัติงานได้ผลในระยะสั้นเท่านั้น”
ผู้นำ การจูงใจ ปัจจัยที่สำคัญในการจูงใจ 2. การยอมรับ 3. ความก้าวหน้า 1. สัมฤทธิผลของงาน 2. การยอมรับ 3. ความก้าวหน้า 4. ความสนใจ 5. ความรับผิดชอบ 6. การมีส่วนร่วมในการทำงาน
ผู้นำ การจูงใจ การป้องกันการเกิดความไม่พึงพอใจ 2. นโยบาย 3. ความมั่นคง 1. สภาพการทำงาน 2. นโยบาย 3. ความมั่นคง 4. ผลตอบแทน 5. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 6. การมีส่วนร่วมในการทำงาน 7. สถานภาพตำแหน่ง
ผู้นำ การจูงใจ ประเภทของการจูงใจ 1. การจูงใจภายนอก - รางวัล เงินเดือน - ตำแหน่ง หน้าที่การงาน - ความมั่นคงในการทำงาน 2. การจูงใจภายนอก - ความรัก - ความเป็นกันเอง - ความเอื้ออาทรต่อกัน
ผู้นำ การจูงใจ ความพึงพอใจในการทำงาน 1. ลักษณะงาน 2. ความก้าวหน้า 3. การยอมรับ 4. ความรับผิดชอบ 5. สัมฤทธิผลของงาน
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคนเป็นเรื่องยาก จงเลิกการทะนงตัว “ขอให้ดูเยี่ยงรวงข้าวที่อ่อนน้อมเพียงใด ย่อมหมายถึงรวงข้าวนั้นมีเมล็ดข้าวที่สมบูรณ์เต็มรวง ต่างกับรวงข้าวที่มีเมล็ดลีบ รวงย่อมชูตรง ประกาศความไม่มีคุณค่า”