ขั้นตอนการฝึกความคิดด้านการคิดวิเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. ประกอบโครงสร้างหุ่นยนต์. (ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
COE : Microcat.
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การสร้างเกมด้วยโปรแกรม Unity
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
การจำลองความคิด
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
ภาษาโลโก เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนรู้ พัฒนาสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจหลักการการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถลองผิดลองถูก.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
การเขียนผังงาน (Flowchart)
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
ภาษาโลโก(Logo).
โครงงานเกมส์บวกเลขหรรษา
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทบาทสมมติ (Role Playing)
หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ประถม เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ด้วยสื่อ นวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อดึงความสามารถทางการเรียนแต่ละด้าน ตามแนวทางพหุปัญญา โดยกระบวนการ Balanced.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วิธีสอนแบบอุปนัย.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการฝึกความคิดด้านการคิดวิเคราะห์ ที่มาของนวัตกรรมนี้คือผู้สอนไดรับมอบหมายให้สอนวิชาคอมพิวเตอร์เรื่อง การเขียนโปรแกรม ระดับ ม.2 และดูแลนักเรียนชมรมเตรียมความพร้อมสู่คอมพิวเตอร์โอลิมปิกและการแข่งขันหุ่นยนต์ซึ่งมีนักเรียนสนใจเป็นจำนวนมากแต่บางครั้งหุ่นยนต์ในการฝึกซ้อมไม่เพียงพอจึงใช้โปรแกรมสร้างสถานการณ์จำลองขึ้นมาเพื่อฝึกการควบคุมหุ่นยนต์และได้สังเกตพบว่าสนามหรือแผนที่ฝึกซ้อมหุ่นยนต์ที่ออกแบบมานี้มีประโยชน์มากช่วยในการพัฒนาความคิดได้เป็นอย่างดีนักเรียนที่ผ่านการสอนหลายรุ่นประสบความสำเร็จในการแข่งขันหุ่นยนต์มาหลายครั้งเพราะได้ใช้สนามที่ออกแบบมานี้ฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา สนุกกับการเรียนรู้และภาคภูมิใจที่ทำภาระกิจได้สำเร็จจึงได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อเป็นสนามที่วัดทักษะด้านความคิดวิเคราะห์และแก้ปํญหาถึง 20 สนามในปัจจุบันนี้

กระบวนการคิดวิเคราะห์ : ขั้นที่ 1 กระบวนการคิดวิเคราะห์ : ขั้นที่ 1. กำหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ ตัวหุ่นยนต์ หุ่นยนต์ มองเห็นได้ 3 ด้าน คือ ด้านหน้า front ด้านซ้าย left ด้านขวา right แต่ละด้านเห็นได้ 5 แบบ คือ สิ่งกีดขวาง IsObstacle() ที่ว่าง IsClear() โคมไฟ IsBeacon() สีขาว IsWhite() สีดำ IsBlack() ตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง ถ้าหุ่นยนต์เห็นที่ว่างข้างหน้า if(frontIsClear()) ถ้าหุ่นยนต์เห็นที่ว่างข้างซ้าย if(leftIsClear()) ถ้าหุ่นยนต์เห็นที่ว่างข้างขวา if(rightIsClear()) ดังนั้นเมื่อเห็นแบบอื่นก็แก้ไขคำสั่งเท่านั้นเอง

ขั้นที่ 2. กำหนดปัญหา ปัญหาและอุปสรรค์คือสนามแผนที่ที่นักเรียนจะต้องเขียนโปรแกรมควบคุมให้หุ่นยนต์เดินไปและหลบหลีกสิ่งกีดขวางแบบอัตโนมัติคือให้หุ่นยนต์ “คิดเป็น” ว่าถ้าพบสิ่งกีดขวางหรือช่องทางที่สามารถไปได้ให้ตัดสินใจเดินไปได้เลยเมื่อพบเป้าหมายคือโคมไฟให้หยิบเก็บมาถือว่าจบภาระกิจ....ซึ่งครูได้ออกแบบแผนที่ไว้ตามลำดับจากง่ายไปหายากให้นักเรียนได้ฝึกใช้กระบวนการคิด

ขั้นที่ 3. พิจารณาแยกแยะ เมื่อหุ่นยนต์มองเห็นวัตถุที่อยู่ด้านหน้าจะพิจารณาแยกแยะด้วยการตรวจสอบเงื่อนไขคำสั่งที่ผู้เรียนเขียนโปรแกรมลงไป พบจุดขาวเลี้ยวขวา พบโคมไฟเก็บก็จบ พบกำแพงเลี้ยวขวา พบจุดขาวเลี้ยวขวา หน้าว่างเดิน พบจุดขาวเลี้ยวขวา พบจุดขาวเลี้ยวขวา

เมื่อเขียนโปรแกรมจริง ดังนี้