วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
การพูด.
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
วิธีคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์อย่าง มีไอเดียแบบเฉพาะตัว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
การประเมินผลการเรียน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
สวทช NSTDA ชุมนุมสมาชิก JSTP
บทนำ บทที่ 1.
สำรวจ สิ่งที่รู้แล้ว และ อยากรู้(คำถาม) เฉพาะบุคคล และ กลุ่ม
หลักฐานประวัติศาสตร์สุราษฎร์ธานี
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
สื่อการสอนดนตรีเรื่อง Time signature
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อินเตอร์เน็ตกับครูภาษาอังกฤษ บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย
( Human Relationships )
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
โครงงานเกมส์บวกเลขหรรษา
การประชุมครั้งที่ 6/2557 ประชุมเตรียมความพร้อมดำเนินโครงการแบ่งปันความรู้สู่ ชุมชม ครั้งที่ 2 / 2557 วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน 2557 เวลา 9.00 น. ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
การฟังเพลง.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของบทละคร.
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี รายวิชาพื้นฐานวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี นายสุเทพ ชินวงค์ ครูโรงเรียนศรีปทุมพิทยาคม

จากปลายปากกาสู่หน้ากระดาษ ประกอบอะไหล่ใส่ทำนอง สู่โลกแห่งดนตรี ถอดรหัสเพลง อักษรดิ้นได้ จากปลายปากกาสู่หน้ากระดาษ ประกอบอะไหล่ใส่ทำนอง ขยับลูกกระเดือก วิเคราะห์ องค์ประกอบดนตรี

ธรรมชาติของดนตรี สู่โลกแห่งดนตรี ดนตรีเกิดจากการแสดงออกทางอารมณ์ ของมนุษย์ 2. ดนตรีเป็นเรื่องของศิลปะที่เกี่ยวกับเสียงที่ มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้น 3. มีธรรมชาติที่แตกต่างไปจากศิลปะแขนงอื่น ๆ - ดนตรีเป็นสื่อทางอารมณ์ที่สัมผัสได้ด้วยหู - ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม - ดนตรีเป็นเรื่องของสุนทรียศาสตร์ว่าด้วย ความไพเราะ - ดนตรีเป็นเรื่องของการแสดงออกทาง อารมณ์ - ดนตรีเป็นทั้งระบบวิชาความรู้และศิลปะ ในขณะเดียวกัน ธรรมชาติของดนตรี

องค์ประกอบของการฟังเพลง ถอดรหัสเพลง องค์ประกอบของการฟังเพลง สภาพแวดล้อม เวลา การบรรเลง ประสบการณ์ผู้ฟัง

ประเภทของการฟังเพลง ฟังแบบผ่านหู ฟังด้วยความรู้สึก ฟังด้วยอารมณ์ ถอดรหัสเพลง ประเภทของการฟังเพลง ฟังแบบผ่านหู ฟังด้วยความรู้สึก ฟังด้วยอารมณ์ ฟังด้วยความซาบซึ้ง

พื้นฐานอารมณ์และความรู้สึก ของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน ดังนั้นอรรถรถในการฟังเพลงของแต่ละคน จึงแตกต่างกันด้วย

หลักการแต่งเพลงเบื้องต้น อักษรดิ้นได้ หลักการแต่งเพลงเบื้องต้น เข้าสู่การเป็นนักแต่งเพลงทำอย่างไร การแต่งเพลงเริ่มต้นจากอะไร เริ่มคิดจากวิธีคิดใด หาไอเดียเขียนได้จากที่ไหน โครงสร้างของเนื้อเพลง คุณสมบัติของนักแต่เพลงที่ดี

การฝึกร้องเพลงให้ถูกต้อง ขยับลูกกระเดือก การฝึกร้องเพลงให้ถูกต้อง นักร้อง ท่าทาง การหายใจ การเข้าจังหวะ คุณภาพเสียง การออกเสียง อักขระ