ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
อาหารหลัก 5 หมู่.
ดิน(Soil).
โรงเรียนสุเหร่าหะยีมีนา
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การจัดการในบ้าน นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
การปลูกพืชกลับหัว.
การไถพรวนและเตรียมแปลง ต้องทำการไถพรวนให้ พื้นที่ในแปลงโล่งแจ้ง ปลูกพืชสมุนไพรไล่แมลง ให้ปลูกก่อนที่จะปลูกพืช หลักคือพืชผักต่างๆ ( เสริมกับการป้องกัน.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
นำปุ๋ยคอกบรรจุในกระสอบปุ๋ยจนเต็มกระสอบ
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
เกณฑ์ปฏิบัติสำหรับบริเวณที่นำมูลไปใช้ประโยชน์
กิจกรรมเก็บตัวอย่าง และการวิเคราะห์คุณภาพดิน
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
ชื่อ (Name) : รายวิชา การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ โดย ผศ.ดร.เรขา อรัญวงศ์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
การปรับพื้นที่สำหรับปลูกหญ้าแพงโกลา ในที่ลุ่มพื้นที่ขนาดใหญ่
จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน รู้จักผักสวนครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน

ความหมาย พืชผัก หมายถึง พืชที่ปลูกเพื่อใช้ประโยชน์จากราก ใบ ลำต้น ดอก และผลเป็นอาหาร ส่วนมากจะมีอายุสั้น เช่น หอม กระเทียม

ความสำคัญของผักสวนครัว 1. ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและอาชีพการเกษตร 2. ความสำคัญทางด้านคุณค่าทางอาหารและโภชนาการ

ประเภทของพืชผักสวนครัว แบ่งตามหลักการใช้ประโยชน์มี 4 ประเภท 1. ผักกินใบกินต้น 2. ผักกินฝักกินผล 3. ผักกินหัวกินราก 4. ผักกินดอก

1. ผักกินใบกินต้น เช่น คะน้า ผักบุ้ง กะหล่ำปลี ผักกาดขาว หอมแบ่ง

2. ผักกินฝักกินผล เช่น พริก มะเขือ ถั่วฝักยาว ถั่วแขก ถั่วพู

3. ผักกินหัวกินราก เช่น ผักกาดหัว กระเทียม กระชาย ขมิ้น

4. ผักกินดอก เช่น กะหล่ำดอก ดอกแค

การเตรียมดินปลูกผักสวนครัว การเตรียมดิน หมายถึง การปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการ ปลูกพืชแต่ละชนิด

วิธีการเตรียมดิน 1. กำจัดวัชพืช 2. กำหนดพื้นที่ปลูก 3. ขุดดินบริเวณที่กำหนดไว้ 4. ตกแต่งร่องให้เป็นรูปทรงตามที่กำหนด

1. กำจัดวัชพืช โดยเก็บเศษวัสดุต่างๆออกจากหน้าดินให้หมด แล้วใช้จอบถาก หรือมีดฟันหญ้า ถ้าวัชพืชอยู่ลึกต้องใช้เสียมหรือพลั่วมือขุดออก

2. กำหนดพื้นที่ปลูก สำหรับแปลงปลูกผักต้องใช้ไม้ปัก 4 มุม โดยวัดความกว้างยาวได้ตามต้องการ

3. ขุดดินบริเวณที่กำหนดไว้ ถ้าเป็นแปลงผักควรขุดดินลึกประมาณ 15 เซนติเมตร พลิกดินด้านล่างขึ้นมาด้านบน ตากไว้ให้แห้ง 2-3 วัน แล้วจึงย่อยดินให้ขนาดเล็กลง และเก็บเศษวัชพืชที่ยังค้างอยู่ในดินออกทิ้ง

4. ตกแต่งร่องให้เป็นรูปทรงตามต้องการ พรวนดินอีกครั้ง ถ้าดินเป็นกรดใส่ปูนขาว โรยบางๆผสมคลุกเคล้าพร้อมปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 สัปดาห์