บทที่ 3 การเคลื่อนที่.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
(Global Positioning System)
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
ระบบอนุภาค.
หลักการเขียนแบบสวนเบื้องต้น
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เครื่องเคาะสัญญาณ.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ความหมายและชนิดของคลื่น
เศษส่วน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การแปรผันตรง (Direct variation)
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบฝึกการเล่นลูกมือล่างสำหรับผู้หัดเล่นวอลเลย์บอล
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่ของคนและสิ่งของ การเคลื่อนที่ของยานพาหนะ การหล่นของผลไม้สุกจากต้น

1.1 การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับ หรือแนวราบ 1.1 การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับ หรือแนวราบ

1.2 การเคลื่อนที่แนวตรงในแนวดิ่ง 1.2 การเคลื่อนที่แนวตรงในแนวดิ่ง

การเคลื่อนที่แนวโค้งหรือ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แนวโค้งหรือ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การโยนลูกบาสเกตบอลหรือลูกบอลให้ลงห่วงหรือตะกร้า 1 เล่นบาสเกตบอล

การเคลื่อนที่แบบวงกลม ผูกเชือกไว้แล้วเอามือแกว่งหรือเหวี่ยงให้วัตถุเป็น วงกลม

การเคลื่อนที่แบบวงกลมที่พบในชีวิตประจำวัน

สรุปการเคลื่อนที่ของวัตถุ 1.การเคลื่อนที่แนวตรง 1.1 การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับหรือแนวราบ 1.2 การเคลื่อนที่แนวตรงในแนวดิ่ง 2.การเคลื่อนที่แนวโค้งหรือการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 3.การเคลื่อนที่แบบวงกลม

1.การเคลื่อนที่ในข้อใดเป็นการเคลื่อนที่แนวตรง 1.การโยนลูกบาสเกตบอลลงห่วง 2.การหล่นของมะม่วงสุกลงสู่พื้น 3.การโคจรรอบโลกของดาวเทียม 4.การที่รถแข่งเลี้ยวไปตามทางโค้ง

2.การเคลื่อนที่ในข้อใดเป็นการเคลื่อนที่แนวโค้ง 1.การผลักกล่องให้ไปตามพื้นราบ 2.การปล่อยลูกบอลให้หลุดจากมือลงสู่พื้น 3.การยิงปืนของทหารราบ 4.การแข่งขันวิ่ง 100 เมตร

3.ข้อใดจัดเป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลม 1.การแกว่งของชิงช้า 2.การแข่งขันขว้างจักร 3.การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ 4.การเสริฟลูกวอลเลย์บอล

4.ข้อใดไม่ใช่การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1.การแข่งขันว่ายน้ำ 2.การปล่อยลูกบอลลงจากบอลลูน 3.การปล่อยให้ก้อนหินตกจากหน้าผา 4.การแข่งขันขว้างจักร นาทีที่ 4.20การฟุ่งแหลน

การบอกตำแหน่งของวัตถุ N 5 เมตร การบอกตำแหน่งของวัตถุ โรงเรียน บ้านเรา 3 เมตร 2 เมตร สระน้ำ

กิจกรรมที่ 3.1 แนวผนังด้านหน้า 2 เมตร 1.5 เมตร A แนวผนังด้านซ้าย B

การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ ระยะทางวัดตามเส้นรอบรูป ระยะทางที่วัดในแนวตรง ก ข ก ข 4 เมตร 4 เมตร

การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ ระยะทางวัดตามเส้นรอบรูป ระยะทางที่วัดในแนวตรง ค ค 3 เมตร 3เมตร ก ข ก ข 4 เมตร 4 เมตร

ค ก ข จงหาระยะ ก ถึง ค 3เมตร 4 เมตร b c2 = a2 + b2 c2 = 42 + 32 c จงหาระยะ ก ถึง ค ค c2 = a2 + b2 c2 = 42 + 32 c 3เมตร c2 = 16 + 9 ก ข b c2 = 25 a c = 25 4 เมตร c = 5 หรือ 5x5 = 25

การหารากที่สอง ) 25 5 5 5 c = 5

การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ ระยะทางวัดตามเส้นรอบรูป ระยะทางที่วัดในแนวตรง ค ค ง ง 3 เมตร 3เมตร ก ข ก ข 4 เมตร 4 เมตร

การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ ระยะทาง ข ก ระยะกระจัด

ระยะทางและการกระจัด ระยะที่เดินทางได้ตามแนวเส้นทางที่กำหนด เรียกว่า ระยะทาง (distance) ระยะที่วัดในแนวเส้นตรงจากตำแหน่งเริ่มต้น ไปยังตำแหน่งสุดท้าย เรียกว่า การกระจัด (displacement)

สัญลักษณ์การเขียนการกระจัด การกระจัด(displacement) เป็นเส้นตรง มีหัวลูกศร ความยาวของเส้นแทน ขนาดของการกระจัดและหัวลูกศรแทนทิศทาง ของการกระจัด

ข ก ตัวอย่าง การเดินทางจาก ก ไปหา ข เขียนแสดงการ กระจัดด้วยเส้นตรง 5 หน่วย ถ้า 1 หน่วยแทนความยาว 100 เมตร ขนาดการ กระจัดจาก ก ถึง ข จะเท่ากับ 500 เมตรและมีทิศ จาก ก ไป ข

ปริมาณเวกเตอร์ การกระจัดเป็นปริมาณที่ต้องระบุทั้งขนาดและ ทิศทาง เราเรียกปริมาณที่ต้องบอกทั้งขนาดและ ทิศทาง ว่าปริมาณ เวกเตอร์ เช่น A C B

เขียนสัญลักษณ์แทนปริมาณเวกเตอร์ เช่น a A A

เราเรียกปริมาณที่ต้องบอกถึงขนาดเพียงอย่าง เดียว ว่าปริมาณ สเกลาร์ สัญลักษณ์ของ ปริมาณสเกลาร์ใช้ตัวอักษรแทนปริมาณนั้น ๆ

นาย A เดินทางจากจุด ก ไปหาจุด ข ได้ระยะทางกี่เมตร หาระยะทางของเส้นรอบรูป  3 เมตร สูตรเส้นรอบวง 2r ก ข เมื่อ  = 3.14 r = รัศมี 2 x 3.14 x 1.5 = 9.42 9.42/2 = 4.71 เพราะฉะนั้นนาย A เดินทางได้ระยะทาง 4.71 เมตร

นาย A เดินทางจากจุด ก ไปหาจุด ข ได้ระยะกระจัด กี่เมตร การหาระยะกระจัด (จากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย)  3 เมตร ก ข เพราะฉะนั้นนาย A เดินทางได้ระยะกระจัดเท่ากับ 3 เมตร

อัตราเร็วและความเร็วของวัตถุ อัตราส่วนระหว่างระยะทางที่ได้กับเวลาที่ใช้ ระยะทาง(เมตร) อัตราเร็ว(m/s) เวลา (วินาที)

อัตราเร็วและความเร็วของวัตถุ อัตราส่วนระหว่างการกระจัดที่ได้กับเวลาที่ใช้ การกระจัด(เมตร) ความเร็ว(m/s) เวลา (วินาที)

ตัวอย่างที่ 3.1 90 เมตร 120 เมตร b c2 = a2 + b2 c2 = 1202 + 902 c a

การหารากที่สอง ) 22500 10 ) 2250 10 ) 225 5 ) 45 5 ) 9 3 3 10 x 5 x 3 = 150

ตัวอย่างการคำนวณเรื่องความเร็วและอัตราเร็ว

ข ก ค ง นาย b เดินทางจากจุด ก ไปหาจุด ค ได้ระยะทางและระยะกระจัดกี่เมตร สูตรเส้นรอบวง 2r ข = 2x3.14x3 = 18.84 แต่เนื่องจาก ก ถึง ค เท่ากับ ครึ่งวงกลม จึงหาร 2 = 9.42  6 เมตร ก ค ได้ระยะทาง 9.42เมตร ตอบ ง ได้ระยะกระจัด 6 เมตร ตอบ

ข ก ค ง ถ้านาย b เดินทางรอบวงเวียนใช้เวลา 15 วินาที อัตราเร็วของการเดินทาง ระยะทาง(เมตร) อัตราเร็ว(m/s) เวลา (วินาที)  6 เมตร ก ค 18.84(เมตร) อัตราเร็ว(m/s) 15 (วินาที) ง อัตราเร็วที่นาย B เดินได้ คือ 1.256 เมตร ตอบ

ข ก ค ง ถ้านาย b เดินทางรอบวงเวียนใช้เวลา 15 วินาที ความเร็วของการเดินทาง ระยะกระจัด (เมตร) ความเร็ว(m/s) เวลา (วินาที)  6 เมตร ก ค 0 (เมตร) ความเร็ว(m/s) 15 (วินาที) ง อัตราเร็วที่นาย B เดินได้ คือ 0 เมตร ตอบ

จบการนำเสนอ