ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียงพยัญชนะ นางสมจิตร ภูเต็มเกียรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีบุณยานนท์
Advertisements


คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แบบฝึกทักษะเรื่องเหตุผลกับภาษา
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
เรื่องความรู้ทางภาษา
ตัวสะกด จดจำง่าย นวัตกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การเพิ่มคำ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา

๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
พยัญชนะต้น.
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
ภาษาบาลี-ภาษาสันสกฤต
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
มาตราตัวสะกด สื่อการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบ้านควนไทรงาม
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
คำ วิเศษณ์ สนุกกับชนิดของคำ
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย นางปิยพร ยศมา ตำแหน่ง ครูชำนาญการ กลุ่มสาระภาษาไทย
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
โรงเรียนบ้านปลักชะเมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คำมูล คำมูล คือ คำดั้งเดิมมาแต่แรกเป็นคำเดียวโดด ๆ ซึ่งเจ้าของภาษานั้น ๆ คิดขึ้นเองหรือยืมมาจาก ภาษาอื่น    
เรื่อง ประโยค.
มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย อรวสา พยุห์ โรงเรียนอนุบาลระนอง
ที่มาของคำราชาศัพท์ มาจากคำไทย+ภาษาต่างประเทศ บาลี,สันสกฤต,เขมร
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา 23สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

คำไทยแท้และคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะของคำไทยแท้ได้ 2. บอกหลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตได้ 3. บอกหลักสังเกตคำที่มาจากภาษาเขมรได้ 4. เมื่อกำหนดคำให้สามารถบอกได้ว่ามาจากภาษาใด 5. ตอบคำถามจากเนื้อเรื่องได้

สาระการเรียนรู้ 1. หลักสังเกตคำไทยแท้ 2. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลี 1. หลักสังเกตคำไทยแท้ 2. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลี 3. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤต 4. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาเขมร

หลักสังเกตคำไทยแท้ คำที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ไม่ใช่คำไทยแท้ทั้งหมดมีคำที่มาจากภาษาต่างประทศมาปะปนอยู่ด้วยดังนั้นราจึงควรทราบลักษณะของคำไทยแท้ซึ่งมีหลักสังเกตดังต่อไปนี้ 1. คำไทยแท้ส่วนมากเป็นคำพยางค์เดียวและเป็นคำทั้ง 7 ชนิด คำนาม เช่น ไก่ นา ไฟ ปู คำสรรพนาม เช่น เธอ ฉัน แก เขา คำกริยา เช่น กิน นอน ทำ เขียน คำวิเศษณ์ เช่น ดี ต่ำ ดำ สูง

หลักสังเกตคำไทยแท้( ต่อ ) คำบุพบท เช่น ใต้ ใน บน ริม คำสันธาน เช่น จึง เพราะ แต่ ก็ คำอุทาน เช่น ว้าย แหม เอ๊ะ อ้าว มีคำไทยแท้ที่มีหลายพยางค์ ซึ่งมีสาเหตุดังนี้ 1. เกิดจากการกร่อนเสียง เช่น หมากพร้าว กร่อนเสียงเป็น มะพร้าว หมากปราง กร่อนเสียงเป็น มะปราง ต้นขบ กร่อนเสียงเป็น ตะขบ สายเอว กร่อนเสียงเป็น สะเอว ตาวัน กร่อนเสียงเป็น ตะวัน

หลักสังเกตคำไทยแท้( ต่อ ) 2. เกิดจากการแทรกเสียง เช่น ลูกดุม แทรกเสียงเป็น ลูกกระดุม ผักสัง แทรกเสียงป็น ผักกระสัง 3. เกิดจากการเติมเสียง เช่น โจน เติมเสียงเป็น กระโจน ทำ เติมเสียงเป็น กระทำ 2. คำไทยแท้ไม่มีตัวการันต์ 3. คำไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา 4. ไม่ใช่ ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ศ ษ ฬ เป็นพยัญชนะต้น ยกเว้น ฆ่า ระฆัง เฆี่ยน ศอก ศึก ธ เธอ ณ ฯพณฯ ใหญ่ หญ้า หญิง 5. คำไทยแท้มีการใช้วรรณยุกต์เพื่อแสดงความหมายของคำ