Solar Storm พายุสุริยะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

จุดบนดวงอาทิตย์ ( Sunspots )
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
Global Warming.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Ultrasonic sensor.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
กาแล็กซีและเอกภพ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
Magnetic Particle Testing
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การระเบิด Explosions.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
การหักเหของแสง (Refraction)
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ภาวะโลกร้อน.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ระบบสุริยะ จักรวาล.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Solar Storm พายุสุริยะ นางสาวอรวรรณ พรหมงาม เทคโนโลยีพลังงาน I.D.53400803

Outline พายุสุริยะคืออะไร พายุสุริยะจะเกิดขึ้นได้จริงหรือไม่ ? พายุสุริยะมีผลกระทบต่อโลกอย่างไร ? การคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับพายุสุริยะทำได้หรือไม่ ? การเตือนภัยและเตรียมรับมือกับพายุสุริยะสามารถทำได้หรือไม่ ?

ดวงอาทิตย์ (the sun) แกนกลาง (core) เขตแผ่รังสี (radiative zone) โครงสร้างภายในดวงอาทิตย์ แกนกลาง (core) เขตแผ่รังสี (radiative zone) เขตการพา (convection zone) ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ โฟโตสเฟียร์ (photosphere) โครโมสเฟียร์ (chromosphere) โคโรนา (corona)

พายุสุริยะคืออะไร ?

จุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspot) จุดดับบนดวงอาทิตย์ คือ บริเวณที่อุณหภูมิของดวงอาทิตย์บริเวณนั้นต่ำกว่า บริเวณรอบๆ จึงทำให้มองเป็นจุดที่มืดกว่าบริเวณโดยรอบ จุดดับของดวง อาทิตย์นั้นเกิดเนื่องจากแนวสนามแม่เหล็กใต้ผิวดวงอาทิตย์เกิดการกลับทิศหรือ การบิดขั้วและ ณ บริเวณจุดดับดวงอาทิตย์ ก็มักจะพบว่ามีปรากฏการณ์ การลุก จ้า (solar flare) ของดวงอาทิตย์ ภาพ : Sunspots are dark, planet-sized ที่มา : misterzwanch.com

การระเบิดจ้า (Solar flare) การระเบิดจ้าหรือการประทุ(Flare) เป็นการ ระเบิดอย่างรุนแรงของแม่เหล็กขั้วเหนือจำนวน หลายขั้วบนดวงอาทิตย์ ทำให้สสารภายใน photosphere นั้นหลุดออกมาด้วย ซึ่งจะมี อุณหภูมิสูงมากและการระเบิดนั้นจะพาเอาเปลว ไฟพลาสม่าของโคโรน่าหลุดออกมาด้วย

Corona mass ejection เป็นการโก่งตัวของแม่เหล็กบนดวงอาทิตย์ ดันให้แม่เหล็ก ดวงอาทิตย์โก่งออกมาเป็นเปลวไฟโค้งๆหรือเหมือน ฟองอากาศ แล้วก็เกิดการแยกออกจากกันของแม่เหล็กนั้น บริเวณผิวของดวงอาทิตย์ ก่อให้เกิดแรงดีดขึ้นและพัดออกมา จากดวงอาทิตย์ แต่พายุสุริยะชนิดนี้มีกำลังเบากว่า flare มาก

วัฏจักรสุริยะ (Solar Cycle) วัฏจักรสุริยะ(solar cycle) คือ รอบของการเปลี่ยนแปลงปริมาณจุดดับของ ดวงอาทิตย์(sunspot) สำหรับวัฏจักรสุริยะหนึ่งๆ จะกินระยะเวลาประมาณ 11 ปี ภาพ : the Sun changed between 1991 and 1995. ที่มา : noaanews.noaa.gov

พายุสุริยะคืออะไร ? เกิดจากการปลดปล่อยพลังงานอย่างรุนแรงจากดวงอาทิตย์ โดยที่กระแสของ อนุภาคพลังงานสูงนั้นพัดมาจากดวงอาทิตย์ด้วยปริมาณและความเร็วสูงกว่า ระดับปกติ นั้นก็คือ "พายุสุริยะ" ภาพ : the way the solar wind interacts with the earth's magnetic field. ที่มา : www.stormblogging.com

ที่มา : http://ircamera.as.arizona.edu/NatSci102/movies/solarerupt.gif

พายุสุริยะจะเกิดขึ้นได้จริงหรือไม่ ? ในช่วงปี 2011-2014 จะเป็น ช่วงเวลาที่เกิดจุดมืดจำนวนมากใน ดวงอาทิตย์ จึงคาดว่าน่าจะเกิดพายุ สุริยะอย่างแน่นอนคงมีทุกวัน แต่จะ รุนแรงมากน้อยเพียงใด ไม่สามารถ คาดการณ์ได้ แต่ไม่มีบ่งบอกได้ว่า จะต้องเกิดในปีใดเป็นพิเศษ

ภาพ : เปลวสุริยะที่ใหญ่ที่สุด เมื่อ 7 กันยายน 2005 ภาพ : เปลวสุริยะที่ใหญ่ที่สุด เมื่อ 7 กันยายน 2005  จุดดำเล็กๆ ในวงแหวนไฟสีเหลืองแสดงขนาดของโลก เมื่อเปรียบเทียบกับเปลวสุริยะ 

พายุสุริยะมีผลกระทบต่อโลกอย่างไร ? การเกิดแสงเหนือแสงใต้ (Aurora) การคมนาคมสื่อสารใช้งานไม่ได้ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ในดาวเทียมอาจถูกทำลาย ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าล้มเหลวในประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลก แกนแม่เหล็กโลกอาจเปลี่ยนตำแหน่งหรือกลับขั้ว เกราะคุ้มกันรังสีคอสมิกจากดวงอาทิตย์จะหมดไปชั่วขณะหนึ่ง

ผลกระทบต่อโลก

ผลกระทบต่อโลก

aurora Aurora เกิดจากอะตอมของธาตุต่างๆ ในชั้นบรรยากาศโลกถูกกระตุ้น(ชน)โดย ประจุไฟฟ้าจากพายุสุริยะทำให้เกิดการปล่อยคลื่นรังสีออกมาในช่วงคลื่นที่ตาเห็นได้

การคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับพายุสุริยะ เป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกะทันหันและเป็นครั้งเป็นคราว พยากรณ์ล่วงหน้าไม่ได้ 

การเตือนภัยและเตรียมรับมือกับพายุสุริยะสามารถทำได้หรือไม่ ? รัฐบาลสหรัฐฯ จึงได้จัดตั้งศูนย์สภาวะแวดล้อมของอวกาศ (Space Environment Center) ใช้ดาวเทียม Solar and Heliospheric Observatory (SOHO) ใช้ดาวเทียม Advanced Composition Explorer (ACE)

สรุป การศึกษาเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ทำให้ทราบว่า พายุสุริยะจะเกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วงที่ มีจุดมืดจำนวนมากบนดวงอาทิตย์ พายุสุริยะมักจะเกิดขึ้นในกลุ่มจุดมืดของดวง อาทิตย์ แต่พายุสุริยะไม่เคยทำลายสิ่งปลูกสร้าง หรือทำลายผู้คนให้ล้มตายหรือ บาดเจ็บ อาจจะกระทบทางด้านเศรษฐกิจบ้าง เช่น กระทบต่อบริษัทสายการ บิน โรงผลิตกระแสไฟฟ้า บริษัทดาวเทียม นักบินอวกาศ และรบกวนการสื่อสาร ทางคลื่นวิทยุ เป็นต้น เราจึงไม่ควรตระหนักต่อการเกิดพายุสุริยะ และเราควรจะ ศึกษาและใช้ประโยชน์จากการเกิดพายุสุริยะให้มากที่สุดค่ะ

Thank You