Department of Computer Business

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Computer Language.
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Introduction to C Programming
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
Lecture no. 3: Review and Exercises
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Lecture no. 4: Structure Programming
C Programming Lecture no. 6: Function.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
C language W.lilakiatsakun.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
Overview of C Programming
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Department of Computer Business Introduction to Pragramming Sila Chunwijitra Hin@ptc.ac.th Department of Computer Business Pathumthani College กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ภาษาซี (C Language) คุณสมบัติ - เป็นภาษาระดับกลาง - ไม่ขึ้นกับระบบปฏิบัติการ (OS) - ไม่ขึ้นกับตัวเครื่อง - เป็นภาษาโครงสร้าง (Structure Language) กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี ชนิดของตัวแปร 1. header 2. main 3. function header Function main กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

กฎเกณฑ์ของโปรแกรมภาษาซี กฎเกณฑ์ (Rules) - ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ โดยใช้ปีกกา ({ }) เป็นตัวกำหนด ขอบเขต - ฟังก์ชั่นแรกต้องเป็น main() เสมอ - ใช้เครื่องหมาย ; (semi colon) เป็นตัวกำหนดการสิ้นสุดของ คำสั่ง - ใช้อักษรตัวเล็กในการเขียนโปรแกรม - ใช้เครื่องหมาย , (comma) เป็นตัวคั่นตัวแปรและพารามิเตอร์ กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ตัวแปร (Variable) การตั้งชื่อตัวแปร - มีความยาวไม่เกิน 32 ตัวอักษร - เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายก็ได้ แต่ต้องขึ้นต้นด้วย ตัวอักษรเสมอ - อักษรตัวเล็กและตัวใหญ่ ถือว่าเป็นคนละชื่อกัน - ห้ามใช้คำสงวน (Reserved word) หรือคำสั่ง (Keyword) ตั้งชื่อ ตัวแปร Example : money , program_c , seven11 , y2k , etc.. Right : int , 3_lady_cooks , num5-3 , include , etc.. Wrong กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ชนิดของตัวแปร ชนิดของตัวแปร - Char (Character) สำหรับตัวอักษร - int (Integer) สำหรับตัวเลขจำนวนเต็ม - float (Floating-point number) สำหรับตัวเลขจำนวนจริง - double (Double precision number) สำหรับตัวเลขจำนวนจริง มีความถูกต้องกว่า float เป็น 2 เท่า - void สำหรับตัวแปรอื่น ๆ ที่ไม่ค่า กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

การแปลงชนิดของข้อมูล นิพจน์ (Expression) คือ การนำค่าคงที่ ตัวแปร ข้อมูล มากระทำกันโดยใช้ตัวกระทำ (Operator) เป็นตัวบ่งชี้การกระทำนั้น ๆ ตัวกระทำ (Operator) คือ เครื่องหมายที่ใช้กระทำระหว่างข้อมูล หรือตัวแปร กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ++ , -- การเพิ่มค่า, การลดค่า * , / , % การคูณ, การหาร, การหารเอาเศษ + , - การบวก, การลบ กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ตัวอย่างโปรแกรม Example #include <stdio.h> void main() { printf(“Hello. This is first C program.”); exit(0); } กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business