ขอความคำสั่งควบคุม แบงเปนกลุมใหญ ๆ ได 2 กลุม คือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
Lecture 5: ทางเลือกแบบหลายทาง
สรุปคำสั่ง if(เงื่อนไข)
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
ครั้งที่ 4 “for statement”
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
Control Statement for while do-while.
การโปรแกรมควบคุมแบบทำงานซ้ำ
โปรแกรมควบคุมเลือกทำตามเงื่อนไข
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
Lecture no. 5 Control Statements
Lecture 4: ทางเลือก, เงื่อนไขของทางเลือก
การควบคุมทิศทางการทำงาน
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
ฟังก์ชันตรวจสอบเงื่อนไข
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
Week 15 C Programming.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
ขอความสั่ง Switch/case/break/default
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
Lab 8: คำสั่ง Do-While อ.ณัฐพงศ์ พยัฆคิน.
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การจำลองความคิด
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
Php เงื่อนไข และ การวนซ้ำ Professional Home Page :PHP
Computer Architecture and Assembly Language
Relational Operators by Accords (IT SMART CLUB 2006) by Accords 1.
คำสั่งควบคุม (Control Statement)
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
คำสั่งควบคุมการทำงาน
รูปแบบ if-else if if (เงื่อนไข1) {
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม โดย อ.วัชระ การสมพจน์
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
บทที่ 6 การควบคุมโปรแกรม.
Week 3 Flow Control in PHP
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
คำสั่งควบคุม การทำงานของโปรแกรม ในภาษา PHP
การเขียนผังงานแบบทำซ้ำ
Control Statements.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
คำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CHAPTER 4 Control Statements
Control Flow.
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
Week 6 For loop, break and continue (Control Structure 3)
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) บทที่ 2: ทบทวนการเขียน ภาษา Java ใช้ร่วมกับ Html และการรับข้อมูลจาก Form.
การทำงานแบบวนซ้ำ (Iteration).
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
PHP: [5] คำสั่งควบคุม (Control statement)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การโปรแกรมด้วยไพทอนเพื่อประยุกต์ใช้งาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอความคำสั่งควบคุม แบงเปนกลุมใหญ ๆ ได 2 กลุม คือ 1. ขอความสั่งทำซ้ำ (loop statements) 2. ขอความสั่งมีเงื่อนไข (conditional statements)

ขอความสั่งมีเงื่อนไข ขอความสั่งมีเงื่อนไข ไดแก if if / else switch/case

คำสั่ง if ทางเลือกเดียว { /* จะมีหรือไม่มีก็ได้*/ คำสั่งที่ 1 ; คำสั่งที่ 2 ; คำสั่งที่ 3 ; . . . . . . . .; } /* จะมีหรือไม่มีก็ได้*/

เครื่องหมายเปรียบเทียบ > มากกวา >= มากกวาหรือเทากับ < นอยกวา <= นอยกวาหรือเทากับ == เทากัน != ไมเทากัน && AND (และ) : : OR (หรือ) ! NOT

Ex1. โปรแกรมรับขอมูลเปนเลข 2 จํานวน แลวนํามาเปรียบเทียบกัน พิมพผลการเปรียบเทียบแจงใหผูใชทราบ

ขอความสั่ง if/else แบบ 2 ทางเลือก { ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไขเปนจริง */ . . . . . . . . . ; } else ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไขเปนเท็จ */ . . . . . . . . . . ;

ตัวอยาง

ขอความสั่ง if/else แบบซอนกัน (nested if) { ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 1 เปนจริง */ ขอความสั่ง ; . . . . . . . . . ; } else /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 1 เปนเท็จ */ if (เงื่อนไข 2) ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 2 เปนจริง */ else ขอความสั่ง ; /* ทํ าเมื่อเงื่อนไข 2 เปนเท็จ */ . . . . . . . . . .;

ตัวอยาง เป็นตัวอยางที่นํามาจากตัวอยางที่ 5.15 โดยแสดงการใชขอความสั่ง if/else ซอนกันแทนแบบเดิม ดังนี้ (ตัวอย่าง 5.17 หน้า 20)

ตัวอยาง โปรแกรมการตัดเกรด แสดงการใชขอความสั่ง if/else ซอนกันหลายชั้น เกณฑการตัดเกรด 90 – 100 = A 75 - 89 = B 60 - 74 = C 50 - 59 = D 0 - 49 = E (ตัวอย่าง 5.18 หน้า 21)

ขอความสั่ง Switch/case/bread/default เปนขอความสั่งประเภทที่มีการตรวจสอบคาของนิพจนหรือคาของตัวแปรที่รับมาวาสอดคลองกับกรณีใดก็จะปฏิบัติงานตามกรณีนั้น แลวออกจากวงวน เมื่อพบคําสั่ง break เพื่อทําตาม ขอความสั่งที่มีตอจากวงวนนั้น จนกวาจะจบโปรแกรม

รูปแบบ Switch/Case switch (นิพจน หรือ ตัวแปร๗ { ขอความสั่ง 1; ขอความสั่ง 2; . . . . . . . . . . .; break; case (คาของนิพจนหรือตัวแปร คาที่ 2) : . . . . . . . . . . ; . default : ขอความสั่ง ; }

ตัวอยาง โปรแกรมที่ใชตัวแปร ch เปนตัวรับขอมูล และนําคาของ ch ไปตรวจสอบวาตรงกับกรณี (case) ใดก็ปฏิบัติตามขอความสั่ง กรณีนั้น ((ตัวอย่าง 5.19 หน้า 24)

ขอความสั่งทำซ้ำ ขอความสั่งทำซ้ำที่ใชงานในภาษาซี ไดแก 1. ขอความสั่ง while 2. ขอความสั่ง do/while 3. ขอความสั่ง for

ใชสั่งใหทํางาน วนจนกวาเงื่อนไขที่กําหนดจะเปนเท็จจึงจะหยุดการวน คำสั่ง while รูปแบบ while (เงื่อนไข) { คำสั่งที่ 1 ; คำสั่งที่ 2 ; คำสั่งที่ 3 ; ................; .................; } ใชสั่งใหทํางาน วนจนกวาเงื่อนไขที่กําหนดจะเปนเท็จจึงจะหยุดการวน

ทิศทางการทำงานของ while รูปแสดงการทำงาน Statement ของ while Condition เท็จ จริง

ตัวอยางโปรแกรม #include <stdio.h> int i=1; main ( ) { while(i<=5) printf(“COMPUTER\n”); i++ ; } printf (“End of loop.\n”);

ตัวอยางโปรแกรมพิมพสูตรคูณ #include <stdio.h> int i=1; main ( ) { while (i<=12) printf (“ 25x %d = %3d\n”,I,I*25); I++ ; } printf (“End of loop.\n”);

ขอความสั่ง do/while ขอความสั่งวงวนแบบนี้จะเริ่มทําตามขอความสั่งในบล็อกกอน 1 รอบแลวจะตรวจสอบเงื่อนไขของขอความสั่ง while ถาเปน จริงก็วนกลัยไปทําตามขอความสั่งทั้งหมดในบล็อก แลวตรวจสอบเงื่อนไขอีก ถาเปนเท็จก็จะเลิกการทําซํ้า แลวขามไปทําตามข้อความสั่งที่เหลือในโปรแกรมตอไปจนจบ

รูปแบบของคำสั่ง do/while { ขอความสั่งที่ 1 ; ขอความสั่งที่ 2 ; ขอความสั่งที่ 3 ง . . . . . . . . . .; . . . . . . . . . . ; } while (เงื่อนไข);

ทิศทางการทำงานของ do/while รูปแสดงการทำงาน Statement ของ while Condition เท็จ จริง

ตัวอยางโปรแกรม #include <stdio.h> int i=1; main ( ) { do printf(“COMPUTER\n”); I ++; } while (i<=5); printf (“End of loop.\n”);

ตัวอยางโปรแกรมพิมพสูตรคูณ main ( ) { int i=1; do printf (“ 25 x %2d = %3d\n”,i,i*25); i++ ; } while (i<=10); printf (“End of loop.\n”);

ขอความสั่ง for ขั้นตอนการทำงานของ for 1. กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปร 2. กำหนดเงื่อนไขที่ใช้ในการตรวจสอบ 3. ปฏิบัติตามเงื่อนไข 3.1 ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงให้ทำตามคำสั่งภายใน Loop for 3.2 ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จให้ออกจาก Loop for 4. เพิ่ม/ลด ค่าของตัวแปร 5. ย้อนกลับไปทำที่ข้อ 3

รูปแบบของ for for (ค่าเริ่มต้น;เงื่อนไขที่ใช้ตรวจสอบ;การเพิ่ม/ลดค่าตัวแปร) { statement1; statement2; statement3; ………………; }

ทิศทางการทำงานของ for กำหนดค่าเริ่มต้น เท็จ Condition จริง ทำงานตามคำสั่งของ for เปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปร

ตัวอยางโปรแกรม main ( ) { int i: for (i=1;i<=5;i++) printf(“COMPUTER\n”); printf(“End of loop.\n”); printf(“ i = %d\n”,i); }

ตัวอยางโปรแกรม for ที่มี 2 ขอความสั่งขึ้นไป main ( ) { int i; for(i=1;i<=5;i++) printf (“COMPUTER\n”); printf(“ i = %d\n”,i); } printf (“End of loop.\n”); printf (“ i = %d\n”,i);

ตัวอย่างโปรแกรม main ( ) { int i: for (i=5;i>0;i --) printf (”COMPUTER\n”); printf (“End of loop.\n”); }

การกําหนดตัวแปรที่มีการเปลี่ยนคาไวมากกวา 1 ตัว ในภาษาซีมีวิธีกําหนดตัวแปรไวในเงื่อนไขไดมากกวา 1 ตัว โดยใช , คั่นตัวแปรไว แตการกําหนดตัวแปรควบคุมในเงื่อนไขจะตองใชตัวแปรตัวเดียวเทานั้น

ตัวอยางกําหนดตัวแปร 2 ตัวไวในวงเล็กหลัง for main ( ) { int i,j; for (i=1 , j=10;i<=5;i++,j+=10) printf (“%d x%d = %d\n”,i,j,i*j); printf (“End of loop.”)’ }

ตัวอยางกําหนดตัวแปร 3 ตัวไวในวงเล็กหลัง for main ( ) { int i,j,k; for iI=1,j=10,k=100;i<=5;i++,j+=10,k-=30) printf (“%d x %2d x %4d = %6d\n”,i,j,k,i*j*k); printf (“End of loop.\n”); }

แบบฝึกหัด จงเขียนโปรแกรมเพื่อหาค่าเฉลี่ยของตัวเลขที่ผู้ใช้กรอกเข้ามาในโปรแกรมจำนวน 10 ตัว โดยแสดงผลการหาค่าเฉลี่ยออกทางจอภาพ จงเขียนโปรแกรมคำนวณค่าอาหารที่ลูกค้าสั่งทั้งหมด โดยภายร้านมีรายการอาหารดังนี้ Pizza 150.- Hamburger 50.- Sandwich 25.- โปรแกรมจะต้องวนรับรายการสั่งซื้อจากลูกค้า (1-3) จนกว่าจะครบตามที่ลูกค้าต้องการโปรแกรมจึงจะทำการคิดเงินรวมออกมาให้