เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา C++

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
Computer Programming 1 LAB Test 3
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Department of Computer Business
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
การเขียนผังงาน.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Lecture 9: การวนซ้ำแบบมีโครงสร้างการวนซ้ำซ้อนกัน
Lecture 6: ทางเลือกแบบมีโครงสร้างซ้อนใน
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การโปรแกรม.
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Structure Programming
LAB # 4 Computer Programming 1 1. พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้
Computer Programming 1 LAB # 6 Function.
ลักษณะการทำงานของ Stack
LAB # 4.
องค์ประกอบของโปรแกรม
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
โครงสร้างภาษาซี.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ฟังก์ชัน (Function).
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
หน่วยที่ 8 อาร์กิวเมนต์ของ main
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
Introduction to C Language
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
C language W.lilakiatsakun.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
Computer Programming for Engineers
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
Introduction to Flowchart
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
Chapter 5 Elementary C++ Programming Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
Lecture 7: ทางเลือกแบบมีโครงสร้างซ้อนใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา C++

ประวัติการพัฒนาภาษา c++ ภาษา C ถูกพัฒนาในช่วง 1970 โดย Dennis Ritchie สำหรับใช้ในการเขียนระบบปฏิบัติการ Unix C++ เกิดขึ้นในช่วง 1980 ถูกพัฒนามาจาก C โดย Bjarne Stroustrup (เบียร์นี สตาวร์สตุร์ป) คือ “C with Classes” ภาษาซีที่มีคลาส ANSI (American National Standard Institute) และ ISO กำหนดให้ภาษา C++ เป็นมาตรฐานสากลและอเมริกา

รูปแบบโปรแกรมภาษา c++ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1. …………………………………………………….. - Preprocessor คือ การเรียกใช้ Library ที่จำเป็นก่อนการทำงาน - การใช้ Namespace คือ การเรียกใช้ standard component (เช่น class, function, ตัวแปรต่างๆ) ภายในเนมสเปชนั้น 2. …………………………………………………….. เป็นฟังก์ชันหลักที่ต้องมีเสมอในทุกโปรแกรม c++ เป็นจุดเริ่มต้นการทำงานของโปรแกรม

Hello world #include <iostream> using namespace std; int main() { // Print hello world on the screen cout << "Hello World"; return 0; } …………………………………… …………………………………… ……………………………………

Preprocessor ใช้เครื่องหมาย # และคำสั่ง include นำหน้าชื่อ library หรือไฟล์เฮดเดอร์ ที่ต้องการใช้งานในโปรแกรม เป็นส่วนที่มีการทำงานก่อนการคอมไพล์โปรแกรม หมายถึง การนำ source code จากไฟล์อื่นเข้ามารวมไว้ในโปรแกรม เช่น ………………………………….. // หมายถึงนำไฟล์ไลบราลี่ iostream เข้ามารวมไว้ในโปรแกรม ………………………………….. // หมายถึงนำไฟล์เฮดเดอร์ myheader.h ที่ถูกเขียนขึ้นจากผู้เขียนโปรแกรมเข้ามารวมไว้

การใช้เนมสเปช Namespace คือ กลุ่มของฟังก์ชัน ตัวแปร และคลาสประเภทต่างๆไว้สำหรับเรียกใช้งาน เช่น เนมสเปชที่เกี่ยวกับการแสดงผล การคำนวนทางคณิตศาสตร์ การใช้ namespace ทำได้ 2 วิธี 1. ใช้คำสั่ง using ต่อด้วยชื่อเนมสเปช ต่อด้วยตัวดำเนินการสโคป (::) ต่อด้วยชื่อ object ที่ต้องการ เช่น using std::cout; using std::cin; 2. ใช้คำสั่ง using namespace ต่อด้วยชื่อเนมสเปชโดยตรง เช่น using namespace std; ข้อดีการใช้เนมสเปช คือ เราสามารถใช้คำสั่งต่างๆได้โดยตรง โดยไม่ต้องพิมพ์เนมสเปชขณะเรียกใช้ เช่น cout << "Hello World"; ใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องพิมพ์ std::cout <<“Hello World”;

ฟังก์ชัน main ทุกโปรแกรมในภาษา c++ จะต้องมี main function เสมือนเป็นทางเข้าของโปรแกรมเมื่อเริ่มทำงาน และเป็นทางออกของโปรแกรมเมื่อทำถึงบรรทัดสุดท้าย (return 0;) int main ( ) { Statement1…; Statement2…; return 0; } …………………………………………….. …………………………………………….. …………………………………………….. ……………………….. ………………………..

ฟังก์ชัน cout ใช้พิมพ์ข้อมูลออกทาง standard output ในการใช้งานต้องมีการเรียกใช้ library iostream ไว้ในโปรแกรมก่อนทุกครั้ง cout << “hello”; cout << “information technology” << endl; cout << “email ” << “cpc@rmutto.ac.th\n”; cout << “wel”; cout << “come all freshy”; cout << ‘\n’;

การเขียน comment คือ การใส่คำอธิบาย ลงไปในโปรแกรม โดยไม่มีผลต่อ source code ของโปรแกรม เพื่อ...... การเขียนคอมเมนต์มี 2 แบบ // ตัวอย่างการเขียนคอมเมนต์บรรทัดเดียว /* ตัวอย่าง การเขียนคอมเมนต์ แบบหลายบรรทัด */

ขั้นตอนการสร้างโปรแกรม Input (source code) ไฟล์นามสกุล .cpp ไฟล์นามสกุล .h compile Compile & Link ไฟล์ออบเจ็กต์ link ไฟล์ไลบรารี่ Output (program) ไฟล์ .exe