การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
T-Test compare with mean Independent Paired
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
(Mantel-Heanszel Produrc)
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
แบบสอบถาม (Questionnaires)
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ลิงค์สำหรับดาวน์โหลดโปรแกรมเละคู่มือการใช้งานโปรแกรม SPSS
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี

ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้ เอกสารหน้า 1-2 การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้ การทดสอบสถิติทีแบบ ตัวอย่างอิสระ การทดสอบสถิติทีแบบ ตัวอย่างคู่อันดับ หรือ ตัวอย่างสัมพันธ์

การสรุปผลการทดสอบ จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS เอกสารหน้า 2-3 การสรุปผลการทดสอบ จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS การทดสอบสถิติทีแบบ ตัวอย่างอิสระ มีตารางที่สำคัญ 2 ตารางคือ ตาราง Group Statistics และ ตาราง Independent Samples Test ดังนี้ ทำได้ 2 วิธีคือ 1. จากค่าพี (P: Probability) หรือความน่าจะเป็น (ในโปรแกรม SPSS อาจเขียน Asymp. Sig. หรือ Sig. แทน ค่าพี) 2. จากการเปิดตาราง ในที่นี้เลือกใช้วิธีที่ 1 โดย ถ้า P Alpha แล้ว สรุปว่าค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม แตกต่างกัน ถ้า P >Alpha แล้ว สรุปว่าสรุปว่าค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม ไม่แตกต่างกัน

ตัวแปร X ชนิดที่ 4 ก็อ่านได้แบบเดียวกัน ชนิด หรือกลุ่ม เอกสารหน้า 3-4 ตัวแปร ตาราง การแปลความ จำนวน ตัวแปร X ชนิดที่ 2 มีจำนวน 6 หน่วย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 64.8333 โดยมีความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10.1866 และความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.1587 ตัวแปร X ชนิดที่ 4 ก็อ่านได้แบบเดียวกัน

การทดสอบสถิติทีแบบ ตัวอย่างคู่อันดับ หรือ ตัวอย่างสัมพันธ์ เอกสารหน้า 4 ตาราง การทดสอบสถิติทีแบบ ตัวอย่างคู่อันดับ หรือ ตัวอย่างสัมพันธ์ มีตารางที่สำคัญ 2 ตารางคือ ตาราง Paired Samples Statistics และ ตาราง Paired Samples Test ดังนี้ 1 2 3 การแปลความ ให้พิจารณาค่า Sig. ใน 1 ถ้า Sig. มากกว่า Alpha แล้วให้สรุปในช่อง 2 ไม่เช่นนั้นให้สรุปในช่อง 3 (สมมุติว่า Alpha เท่ากับ 0.05) ในที่นี้พบว่าค่า Sig. ใน 1 คือ 0.473 ซึ่งมากกว่า 0.05 จึงสรุปผลจาก 2 จาก 2 ค่า Sig. คือ 0.645 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.05 จึงสรุปว่าอายุใช้งานโดยเฉลี่ยของตัวแปร X ในแบบที่ 2 และแบบที่ 4 ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05

เอกสารหน้า 5 ตาราง การแปลความ จาก ตาราง Paired Samples Statistics ตัวแปรตัวแรกคือ BEFORE ค่าเฉลี่ยคือ 54.1 ขนาดตัวอย่างคือ 10 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคือ 2.8067 และความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยคือ 0.8876 สำหรับตัวแปร AFTER (หลังการอบรม) ก็ปรากฏค่าต่างๆ ในบรรทัดถัดไป และในกรณีตัวอย่างคู่อันดับเช่นนี้ขนาดตัวอย่างจะต้องเท่ากันเสมอ

ข้อควรจำ ความน่าจะเป็นแบบหนึ่งหาง เท่ากับ เอกสารหน้า 6 ตาราง ข้อควรจำ ความน่าจะเป็นแบบหนึ่งหาง เท่ากับ ครึ่งหนึ่งของความน่าจะเป็นแบบสองหาง นั่นคือ ดังนั้น ในที่นี้ความน่าจะเป็นแบบหนึ่งหางเท่ากับ 0/2 = 0 การแปลความ ให้พิจารณาค่า Sig. ถ้า Sig. มากกว่า Alpha แล้วให้สรุปว่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน ไม่เช่นนั้นให้สรุปว่าเฉลี่ยแตกต่างกัน (สมมุติว่า Alpha เท่ากับ0.01 ) จากตารางพบว่า Sig. (2-tailed) มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่งน้อยกว่า 0.01 ดังนั้นจึงสรุปว่าค่าเฉลี่ยหลังการอบรมสูงกว่าค่าเฉลี่ยก่อนการอบรมที่ระดับนัยสำคัญ 0.01