เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE 2005-57 โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล 460340234-3 นายมาโนชย์ ทองขาว 463040229-6 อาจารย์ที่ปรึกษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. ประกอบโครงสร้างหุ่นยนต์. (ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง)
Advertisements

ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Low-speed UAV Flight Control Phase II
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Measuring wheels Capable of trajectory mapping in 2-D plane
Low-speed UAV Flight Control Phase II
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย Wireless Heart Rate Monitor
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์
การเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง (ต่อ)
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
ระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในโรงงานอุตสาหกรรม
PC Based Electrocardiograph
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
นายรุ่งโรจน์ จินตเมธาสวัสดิ์
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
(Global Positioning System)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ระบบกลไก.
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เครื่องวัดระดับน้ำในถังเก็บ
หม้อแปลง.
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
Actuator
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
P1 การศึกษาการใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้าและควบคุมแรงดันน้ำ ในงานประปาและสุขาภิบาลกองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Stepper motor.
Application of PID Controller
DC motor.
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE 2005-57 โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล 460340234-3 นายมาโนชย์ ทองขาว 463040229-6 อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.กฤษ เฉยไสย Kj hh

บทที่ 1 บทนำ

1.2 วัตถุประสงค์ ศึกษาวิธีการควบคุมมอเตอร์ด้วยการควบคุมแรงดัน ศึกษาการทำงานของอุปกรณ์เซ็นเซอร์ ศึกษาการนำอุปกรณ์เซ็นเซอร์มาสร้างเป็นวงจรตรวจจับจำนวนรอบการหมุน ศึกษา Microcontroller AVR ATmega8 สำหรับการทำงานในส่วนของ Timer/Counter ศึกษา Microcontroller AVR ATmega8 สำหรับการทำงานในส่วนของ การสร้างสัญญาณ PWM การแสดงผลด้วย seven segment

1.3 ขอบข่ายของงาน ดัดแปลงโครงสร้างของเครื่องพันขดลวด 1.3 ขอบข่ายของงาน ดัดแปลงโครงสร้างของเครื่องพันขดลวด ติดตั้ง DC motor 12 V. เข้ากับเครื่องพันขดลวด สร้างวงจร Supply 12 V และ 5 V. สร้างวงจรตรวจวัดรอบการพัน โดยใช้ Photo sensor สร้างชุด Monitor Control (Timer/Counter, PWM, Display) สร้างวงจร Drive ควบคุมมอเตอร์ ทดสอบการใช้งานจริง

1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถนำอุปกรณ์เซ็นเซอร์มาประยุกต์ใช้งานได้ 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถนำอุปกรณ์เซ็นเซอร์มาประยุกต์ใช้งานได้ สามารถนำ DC Motor มาประยุกต์ใช้งานได้ สามารถควบคุมการทำงานของ DC Motor ได้ สามารถนำ Microcontroller ไปประยุกต์ใช้งานได้ สามารถนำเครื่องพันขดลวดไปใช้ในงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กได้

บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการสร้าง

2.1 วงจรตรวจวัดรอบการพัน 2.1 วงจรตรวจวัดรอบการพัน

2.2 วงจร Drive

2.3 โครงสร้างและองค์ประกอบภายใน IC ที่ใช้งาน AVR ATmega8

ส่วนที่ใช้งานในตัว Microcontroller Input/Output set ขาของ microcontroller ให้เป็น input เพื่อรับสัญญาณจากภายนอกเข้ามาผ่านทางขานั้นๆ และเป็น output เมื่อต้องการให้ขานั้นๆนำสัญญาณจากการประมวลผลที่ได้ออกไปแสดงผลผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น 7-Segment Display Timer/Counter ใช้สำหรับรับสัญญาณ input เข้ามาในลักษณะของการนับเพิ่มทีละ 1 ต่อ1 สัญญาณการเปลี่ยนแปลง PWM ใช้สำหรับสร้างสัญญาณ PWM ออกที่ขา OC1A เพื่อนำไปควบคุม DC Motor

2.4 หลักการทำงานของระบบ

Flow chart

บทที่ 3 ผลการทดลอง

3.1 วงจรตรวจจับรอบการพัน สัญญาณ Pulse ที่ได้จากตัว Sensor Time/DIV=0.1 mS Volt/DIV= 2.5 V

3.2 วงจร Drive สัญญาณ Pulse ที่ได้ วงจร Drive Time/DIV= 0.1 mS Volt/DIV= 5 V

3.3 การควบคุมสัญญาณ PWM ด้วยการปรับค่า Duty Cycle สัญญาณ PWM Duty 15.4% ความถี่ = 3.85 kHz

สัญญาณ PWM Duty 46.2% ความถี่ = 3.85 kHz

3.4 การเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อน (Error)

รูปเครื่องพันขดลวด

รูปของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการพัน

สรุปผลการทดลอง จากการทดลองนำเครื่องพันขดลวดมาใช้งานจริง เครื่องสามารถพันขดลวดได้สูงสุด 9999 รอบ ขดลวดที่พันต้องเป็นขดลวดขนาดเล็กเท่านั้น ถ้าเป็นขดลวดขนาดใหญ่จะไม่สามารถพันได้เนื่องจาก motor มี torque ต่ำ ในการนับรอบจะนับได้แม่นยำ 100% ที่ความเร็วรอบประมาณ 200 rpm ซึ่งถ้าเร็วมากเวลาหยุดจะทำให้รอบเกิน ซึ่งเกิดจากแรงเฉื่อยของ motor และผลิตภัณฑ์ที่ได้ลักษณะของเส้นลวดที่พันจะไม่ค่อยมีระเบียบมากนัก

บทที่ 4 ปัญหาและแนวทางการแก้ไข

ปัญหา เครื่องไม่สามารถทำการนับได้ตรงกับรอบที่พันได้จริง ถ้าสั่งให้เครื่องทำการพันด้วยความเร็วรอบที่สูง คาดว่าน่าจะเกิดจากการเขียนโปรแกรม เนื่องจากโปรแกรมมีความยาวมาก ทำให้ต้องใช้เวลาในการวนลูปในส่วนของการแสดงผลและเมื่อมอเตอร์หมุนเร็วมาก การวนลูปเพื่อการแสดงผลจึงทำไม่ทัน ในการทดสอบใช้งานจริง การใช้งานยังไม่สะดวกเท่าที่ควร ลักษณะของเส้นลวดที่ได้ทำการพันดูไม่ค่อยเป็นระเบียบนัก เนื่องจากไม่มีตัวจัดระเบียบของขดลวด ความสามารถในการทำงานของเครื่องค่อนข้างมีขีดจำกัด เช่น ไม่สามารถพันขดลวดที่มีขนาดใหญ่ได้เนื่องจาก Torque ของมอเตอร์ต่ำ

แนวทางการแก้ไข แนวทางแก้ไขจะต้องศึกษาการเขียนโปรแกรมให้มากกว่านี้ ควรเพิ่มตัว Sensor เพื่อวัดแรงตึง (Tention) ของขดลวด เพิ่มระบบการจัดเส้นลวดขณะทำการพัน

THE END