Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction
Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
บทที่ 9: ผลของการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่างประเทศ
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
EC451 International Trade Theory and Policy
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
Lecture 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
Real Estate Economics Prepared by Dichapong P. Thammasat University.
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
Group 1 Proundly Present
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
Location Problem.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
นโยบายและเป้าหมายในการบริหาร ระบบเศรษฐกิจ
ระบบการผลิต ( Production System )
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
The Theory of Comparative Advantage: Overview
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ EC451 Lecture 11 Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

Capital, skilled labour of X, skilled labour of Y Specific Factors : ปัจจัยการผลิตบางอย่างเคลื่อนย้ายระหว่าง sector ไม่ได้ อย่างน้อยในระยะสั้น Capital, skilled labour of X, skilled labour of Y Natural resources เช่น ที่ดิน 2

Heckscher-Ohlin model Specific factors model 2x2x2 model 3x2x2 model ปัจจัยฯเคลื่อนย้ายระหว่าง sector ได้ ปัจจัยฯชนิดหนึ่งเป็นปัจจัยที่ใช้เฉพาะ sector จึงเคลื่อนย้ายไม่ได้ Long-run model Short-run model เมื่อ free trade เจ้าของปัจจัยฯที่ ? ใช้เข้มข้นในอุตฯส่งออกมี real return สูงขึ้นเจ้าของปัจจัยฯที่ใช้เข้มข้นในอุตฯนำเข้า มี real return ลดลง 3

Production Function QF = QF (TF, LF) Manufacturing Sector QM = QM (KM, LM) Food Sector QF = QF (TF, LF) The full employment of L: LM + LF = L The full employment of K: KM = K The full employment of T: TF = T

Demand for Labor (L) The demand for labor in the manufacturing sector : MPLM x PM = wM The demand for labor in the food sector : MPLF x PF = wF

Equilibrium of the Labor Market Wage rate, W VMPLM=PM X MPLM (Demand curve for labor in manufacturing) VMPLF= PF X MPLF (Demand curve for labor in food) W1 1 Labor used in manufactures, LM Labor used in food, LF L1M L1F Total labor supply, L

Labor market equilibrium VMPLM VMPLF Return to KM Return to TF w w Return to LM Return to LF OM OF LM LF 7

Equilibrium Equilibrium wage in the manufacturing sector : MPLM x PM = w Equilibrium wage in the food sector : MPLF x PF = w

Relative Price in Autarky At the production point -MPLF/MPLM = -PM/PF Slope = -(PM /PF)1 1 Q1F Q1M Output of manufactures, QM Output of food, QF PP

Relative Price changes after Trade สมมติ ส่งออก Manufactures นำเข้า Food Output of manufactures, QM Output of food, QF Slope = - (PM /PF)1 PP 1 Q1F Q1M 2 Q2F Q2M Slope = - (PM /PF) 2

A Rise in the Price of Manufactures สมมติ PM สูงขึ้น ขณะที่ PF คงที่ Wage rate, W PM 2 X MPLM 10% upward shift in labor demand PF 1 X MPLF PM 1 X MPLM 2 W 2 Wage rate rises by less than 10% 1 W 1 Labor used in manufactures, LM Amount of labor shifted from food to manufactures Labor used in food, LF

PM เพิ่มขึ้น 10% (PF คงที่): ผลต่อแรงงาน เมื่อ PM เพิ่มสูงขึ้น ค่าจ้างแรงงาน (w) เพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของ PM เพราะเมื่อ manufacturing sector มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น (ปัจจัยการผลิตอื่นคงที่) จะทำให้ marginal product of labor ใน sector M ลดลง ดังนั้น ไม่แน่ว่า welfare ของ labor เพิ่มขึ้นหรือลดลง

PM เพิ่มขึ้น 10% (PF คงที่): ผลต่อเจ้าของปัจจัยทุน (ปัจจัยเฉพาะในการผลิต M) ความต้องการขยายการผลิต M ทำให้ demand for KM สูงขึ้น แรงงานใน Sector M ที่เพิ่มเข้ามา ทำให้ยิ่งต้องการ KM มากขึ้น ยิ่งแรงงานเข้ามาสู่ Sector M มาก Marginal Product of Capital ยิ่งสูง ค่าจ้าง KM ปรับตัวสูงขึ้นยิ่งกว่าการเพิ่มขึ้นของ PM ดังนั้น Owners of capital มี welfare เพิ่มขึ้นแน่นอน

PM เพิ่มขึ้น 10% (PF คงที่): ผลต่อเจ้าของปัจจัยที่ดิน (ปัจจัยเฉพาะในการผลิต F) ความต้องการผลิต F ลดลงทำให้มี demand for TF ลดลง การสูญเสียแรงงานของ Sector F ยิ่งทำให้ต้องการใช้ TF ลง ยิ่งแรงงานออกไปจาก Sector F มาก Marginal Product of Land ยิ่งต่ำ ค่าจ้าง TF ปรับตัวลดลง ดังนั้น Owners of Land มี welfare ลดลงแน่นอน

สรุปผลกระทบของ Trade ต่อ Income Distribution ใน Specific Factor Model ราคาสินค้า EX สูงขึ้น เมื่อเทียบกับราคาสินค้า IM ปัจจัยเฉพาะในการผลิตสินค้าส่งออกมี real return สูงขึ้น ปัจจัยเฉพาะในการผลิตสินค้านำเข้ามี real return ลดลง ปัจจัยการผลิตที่เคลื่อนย้ายได้ระหว่าง sector ส่งออกและนำเข้า ไม่แน่ว่าจะมี real return เพิ่มขึ้นหรือลดลง 15