การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทยช่วง หลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน (2550)
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย หลังสงครามโลกที่ 2 : ปัญหาเงินเฟ้อ ขาดแคลนสินค้าและเงินตราต่างประเทศ พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) เริ่มใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน (อลป.) หลายอัตรา (multiple exchange rate system) อัตราราชการ และตลาดเสรี
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) เริ่มใช้ระบบ อลป. หลายอัตรา (multiple ER) กำหนดผู้ส่งออกข้าว ยาง ดีบุก ไม้สัก ให้ขาย เงินตรา ตปท. ในอัตราราชการ (12.50 ฿/$ ซึ่งต่ำกว่าอัตราตลาด)
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) เริ่มใช้ระบบ อลป. หลายอัตรา (multiple ER) ใช้อัตราราชการเฉพาะสินค้านำเข้าจำเป็น ผล : ลดเงินเฟ้อ บรรเทาปัญหาขาดเงินตรา ตปท. รายได้ของรัฐจากภาษีส่งออก
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) เป็นสมาชิก IMF แต่ยังไม่กำหนดค่าเสมอภาค (par value) ของบาท
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) เริ่มนโยบายการค้าเสรี ยกเลิกระบบ อลป. หลายอัตรา (multiple exchange rate) จัดตั้ง “ทุนรักษาระดับ อลป. เงินตรา” (Exchange Equalization Fund หรือ EEF) เพื่อแทรกแซงตลาดให้มีเสถียรภาพ (1$ = ฿20)
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระบบ อลป. แบ่งได้ 6 ระยะ (ยุค) ระยะ 1 (พ.ศ. 2498 – 2506 หรือ ค.ศ. 1955 - 1963) ก่อนกำหนดค่าเสมอภาค ธปท. โดย EEF แทรกแซงเพื่อเสถียรภาพ อลป. เคลื่อนไหวน้อย อ่อนสุดที่ 21฿/$
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 2 (พ.ศ. 2506 – 2521 หรือ ค.ศ. 1963 - 1978) กำหนดค่าเสมอภาคตามพันธะกับ IMF ผูกกับ $ (และทองคำ) ที่ 20.88 ฿/$ + 1% ค่าเงินค่อนข้างคงที่ (เทียบ $) ตลอดระยะ 2515-16 (1972-73) ลดค่าตาม $ 2516 (1973) ปรับค่าเสมอภาคใหม่ (20 ฿/$) และ ขยาย band เป็น + 2.25%
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 3 (พ.ศ. 2521 – 2524 หรือ ค.ศ. 1978 - 1981) กำหนด อลป. ประจำวันร่วมกัน(daily fixing) 1978 ยกเลิกการกำหนดค่าเสมอภาค (โลกใช้ อลป. ลอยตัว) และให้เทียบค่า ฿ กับตะกร้าเงิน (basket)
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 3 (พ.ศ. 2521 – 2524 หรือ ค.ศ. 1978 - 1981) กำหนด อลป. ประจำวันร่วมกัน(daily fixing) ใช้วิธีการ daily fixing โดย ธปท. และ ธ. พาณิชย์ ร่วมกันกำหนด อลป. ทุกวัน ทุกเช้า มาร่วมซื้อขายจนได้ “สมดุล” ค่า ฿ เปลี่ยนมากขึ้นบ้าง (อ่อนสุดที่ 21 ฿/$)
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 4 (พ.ศ. 2524 – 2527 หรือ ค.ศ. 1981 - 1984) ธปท. กำหนด อลป. เองรายวัน ฿ เริ่มอ่อนตัวเทียบกับ $ เพราะ $ แข็งขึ้นและ ไทยมีปัญหาขาดดุล มีการการเก็งกำไร ฿ มากขึ้น ธปท. ต้องขาย $ มากและต่อเนื่อง ==> ทุนสำรองลดฮวบ
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 4 (พ.ศ. 2524 – 2527 หรือ ค.ศ. 1981 - 1984) ธปท. กำหนด อลป. เองรายวัน ธปท. ลดค่า ฿ ในปี 2524 (1981) จาก 21 เป็น 23 ฿/$ ยกเลิก daily fixing และหันมากำหนด อลป. เอง และใช้มาตรการ swap เพื่อประกันความเสี่ยงให้ ผู้กู้ต่างประเทศ เศรษฐกิจไทยย่ำแย่จากวิกฤติน้ำมันครั้งที่ 2 และเศรษฐกิจโลกถดถอย
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 5 (พ.ศ. 2527 – 2540 หรือ ค.ศ. 1984 - 1997) ระบบตะกร้าเงิน 2527 (1984) ผูกค่า ฿ กับกลุ่มเงินของคู่ค้า แทน $ เพียงสกุลเดียว เพื่อให้ยืดหยุ่นและเป็นอิสระจาก $ มากขึ้น
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 5 (พ.ศ. 2527 – 2540 หรือ ค.ศ. 1984 - 1997) ระบบตะกร้าเงิน ลดค่า ฿ เป็น 27 ฿/$ ส่งออกเพิ่ม ==> เศรษฐกิจฟื้นตัว ในทางปฏิบัติ แม้ค่า ฿ ยืดหยุ่นมากขึ้น แต่ก็ยังผูกกับ $ มาก
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 5 (พ.ศ. 2527 – 2540 หรือ ค.ศ. 1984 - 1997) ระบบตะกร้าเงิน เปิดเสรีการเงิน: เลิกควบคุมดอกเบี้ย และการไหลของทุน รปท. ตั้งแต่ 2533 (1990) เศรษฐกิจไทยขยายตัวสูง บัญชีเดินสะพัดขาดดุลสูง เงินไหลเข้ามาก เก็งกำไรอสังหาริมทรัพย์
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 5 (พ.ศ. 2527 – 2540 หรือ ค.ศ. 1984 - 1997) ระบบตะกร้าเงิน 2539 (1996) การส่งออกชะงักงัน ==> ปัญหาความเชื่อมั่น ==> เก็งกำไรค่า ฿ ==> ฟองสบู่แตก
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 6 (พ.ศ. 2540 หรือ ค.ศ. 1997 - ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ 2 ก.ค. 2540 (1997) จำยอมต้องลอยตัวค่า ฿ หลังจากพยายามพยุงค่า โดยขาย $ ล่วงหน้า ฿ ลดค่าฮวบฮาบ อ่อนสุดที่ 56 ฿/$
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 6 (พ.ศ. 2540 หรือ ค.ศ. 1997 - ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ เข้าสู่วิกฤติ ==> เงินเฟ้อ ==> หนี้ท่วมหัว ล้มละลาย ==> ระบบการเงินล้มเหลว (หนี้เสีย) ==> เศรษฐกิจหดตัวใน 2540 - 41 (1997–8) ==> การว่างงาน
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 6 (พ.ศ. 2540 หรือ ค.ศ. 1997 - ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ เข้าโครงการ IMF จากมาตรการเข้มงวด สู่มาตรการกระตุ้น อัตราดอกเบี้ยและเงินเฟ้อลดลง บัญชีเดินสะพัดเกินดุล เงินเริ่มไหลเข้า
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 6 (พ.ศ. 2540 หรือ ค.ศ. 1997 - ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ ธปท. ประกาศแทรกแซงค่าเงินเฉพาะเพื่อ ลดความผันผวนระยะสั้น ไม่ฝืนแนวโน้มตลาด 2542- 2543 (1999-2000) ค่าเงินกลับสู่เสถียรภาพ ที่ 36 - 39฿/$
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 6 (พ.ศ. 2540 หรือ ค.ศ. 1997 - ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ 2544-2545 (2001-2002) เงินบาทอ่อนตัวลงอีกเหลือ 43-44 ฿/$ 2546-2548 (2003-2005) ค่าเงินบาทคงตัวที่ 40-41 ฿/$
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย ระยะ 6 (พ.ศ. 2540 หรือ ค.ศ. 1997 - ปัจจุบัน) ระบบลอยตัวแบบจัดการ 2549-2550 (2006-2007) เงินบาทเริ่มแข็งค่ามากถึง 33 – 38 ฿/$ ปลายปี 2549 ธปท. ใช้มาตรการควบคุม เงินไหลเข้าระยะสั้น โดยให้ฝากสำรอง 30% 2550 ยกเลิก “ทุนรักษาระดับ อลป. เงินตรา” (Exchange Equalization Fund หรือ EEF)