การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 4 อุปทานของเงิน (Money Supply) และประเด็นสำคัญอื่น ๆ
Portfolio Balance Wealth Credit Availability Expectations Open Economy
การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ระบบเศรษฐกิจ.
การประเมินเหตุผลของ ความร่วมมือ ทางการเงินภายใน EA 1.
Group 1 Proundly Present
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
เครื่องชี้นำวิกฤตการณ์ค่าเงินของไทย
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ตลาดเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
การเงินระหว่างประเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย Australian Model การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย

สมการใน Australian Model A คือ Domestic Absorption

ตัวแปรใน Australian Model RER = Real Exchange Rate e = nominal exchange rate ราคาของ Tradables ในสกุลเงินตรา ตปท ราคาของ Nontradables ในสกุลเงินตราของตน

สมการใน Australian Model

สมการใน Australian Model Internal Balance External Balance NCI = net capital inflow

กราฟแสดง Australian Model RER=e PT*/PN EB overemployment RER unemployment B a a A BOP surplus RER BOP deficit IB a=A/PN

กราฟแสดง Australian Model RER=e PT*/PN overemployment EB BOP surplus unemployment overemployment BOP surplus BOP deficit unemployment BOP deficit IB a=A/PN

RER=e PT*/PN EB o . IB a=A/PN

RER=e PT*/PN EB o . IB a=A/PN

RER=e PT*/PN EB RER 2 a 1 IB a=A/PN

RER=e PT*/PN EB 1 2 IB a=A/PN

RER=e PT*/PN EB EB’ 1 2 3 IB a=A/PN

RER=e PT*/PN EB EB’ 1 IB a=A/PN

นโยบายการเงินใน Australian Model จาก (M=M2) - ใช้เงินกับ Nontraded Gds เป็นสัดส่วน ของรายจ่ายทั้งหมด

นโยบายการเงินใน Australian Model - Supply เป็น function ของ RER

นโยบายการเงินใน Australian Model ที่ดุลยภาพ

นโยบายการเงินใน Australian Model

นโยบายการเงินใน Australian Model - NCI คือ Foreign Borrowing อันเป็นทางเลือก ทางด้านนโยบาย - อุปสงค์ของสินค้าขึ้นกับ Real Balance (m=Ms/PN) - ดังนั้นนโยบายการเงินจะส่งผลต่อระดับของ Domestic Dem. โดยผ่าน Real Balance

กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต MB = NFA + DC NFA= Foreign Exchange Reserves - Foreign Liability ของธนาคารกลาง (CB) - CB คุม MBไม่ได้ ถ้าคุม NFA ไม่ได้ - NFA ขึ้นกับปัจจัย เช่น ดุลการชำระเงินที่ส่งผล ต่อ Ms

กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - รัฐบาลสามารถคุม MB ได้เต็มที่หรือไม่ ได้ ถ้ารัฐบาลคุมเศรษฐกิจให้มีดุลชำระเงินสมดุลตลอด - การสมดุลของ BOP จะเกิดขึ้นเมื่อ - ปล่อย e ให้ลอยตัวอย่างอิสระ - fix e ให้อยู่ในระดับที่ BOP สมดุลตลอด

กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - ถ้าทำได้ ก็เท่ากับว่า คุม NFA ได้ ซึ่งเท่ากับว่าคุม Ms ได้ - แต่ที่สำคัญคือ รัฐบาลคุมได้แค่ e หรือ Ms (โดยผ่าน BOP)

กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - ในระบบ e คงที่ - ราคาของ Traded Gds กำหนดโดย ตปท - BOP และดังนั้น NFA ถูกกำหนดในระบบ - Msจึงถูกกำหนดในระบบ รัฐบาลคุม Msไม่ได้ - ในระบบที่ e ลอยตัว - รัฐบาลคุม M-stock ได้ - ราคาของ Traded Gds ผันผวนตาม e Bop ได้ดุลตลอด

กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - สมมุติว่า DCg เพิ่ม ทำให้ Ms เพิ่ม - ถ้าMd ไม่เพิ่มในสัดส่วนเดียวกัน ตัวแปรที่จะนำพา Ms ที่เพิ่มขึ้นให้กลับมาเท่ากับMd ก็คือ BOP โดยที่ เงินจะไหลออก ผ่านการขาดดุล BOP จนกระทั่ง ms=md กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต

นโยบายการเงินใน Swan Diagram - Automatic Adjustment Mechanism ใน Swan Diagram

นโยบายการเงินใน Swan Diagram - สมการที่เชื่อมระหว่าง BOP กับ Ms ด้านขวามือจะเท่ากับสภาวะของ BOP - ถ้า Stock ของ NFA จะเปลี่ยน โดยผ่านการสะสม หรือการยุบลงของสำรองเงิน ตราต่างประเทศ

นโยบายการเงินใน Swan Diagram RER=e PT*/PN BOP surplus EB BOP deficit 1 RER0 IB m=M/PN m0 m1

นโยบายการเงินใน Swan Diagram ผลของนโยบายการเงินแบบขยายตัว -Ms เพิ่มจาก m0 ไป m1 โดยการขยาย DC - ผลคือ เศรษฐกิจขยับจากจุด 0 ไปที่ 1 เกิด BOP def เศรษฐกิจถอยในแนวราบจากจุด 1

นโยบายการเงินใน Swan Diagram - Excess Supply of Money จะถูกขจัดไป จน m ลดเหลือ m0 ได้ดุลยภาพที่จุด 0 อีกครั้ง - m มีเท่าเดิม แต่มีการเปลี่ยนแปลงใน องค์ประกอบ โดยมี DC มากขึ้น แต่ NFA ลดลง เนื่องจากขาดดุล BOP

Time Path Reserve เพิ่ม Ms ที่ t0 time t0 t1

Time Path 2 BOP เพิ่ม Ms ที่ t0 + - time t0 t1

Time Path 3 Ms เพิ่ม Ms ที่ t0 time t0 t1

ผลของการลดค่าเงิน RER=e PT*/PN EB 2 R1 3 Ro 1 IB o m=M/PN PN Fixed

ผลของการลดค่าเงิน RER=e PT*/PN EB 2 3 4 5 1 IB o m=M/PN PN Flexible

ผลของการลดค่าเงิน - กรณี PN Fixed การลดค่าเงินจะพระบบ ศก ออกจาก จุ ด 1 มี BOP เกินดุล ทำให้ Ms เพิ่ม ระบบ ศก เคลื่อนตัวไปที่จุด 2 บน EB ที่จุด 2 มีแรงกดดันของเงินเฟ้อ เพราะมี overemploy ถ้าไม่มีการปรับลด e ระบบ ศก จะอยู่นอกดุล IB ได้ ระยะหนึ่ง ถ้า PN ปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้ทันที แต่ไม่ค่อยพบกรณีเช่นนี้ เพราะ PN จะปรับสูงขึ้น

ผลของการลดค่าเงิน - กรณี PN flexible การลดค่าเงินทำให้ ศก เคลื่อนจาก 1 ไป 2 มี BOP > o จึงค่อย ๆ เคลื่อนไปอยู่ที่ 2 บน EB PN เพิ่ม ศก เคลื่อนออกจาก 2 ในทิศที่ วิ่งเข้าสู่จุด origin ด้วยแรงกดดันทาง RER และ Real Money Balance Inflation จะอยู่จนกระทั่ง ศก มาอยู่ที่จุดที่ 3 บน IB เพราะ มี BOP>o ทำให้ Ms เพิ่ม เกิด inflation pressure PN เพิ่มต่อเนื่อง

ผลของการลดค่าเงิน ถ้า PN flexible ไม่มาก ศก จะเคลื่อนตัวต่อไปที่จุด 5 เหตุการณ์จะเกิดสลับกันจะกระทั่งได้ดุลยภาพ ทั้งภายในและภายนอก ที่จุด 0 ผลคือ การเพิ่มในทุกระดับราคา ทำให้เกิด Money Neutralkty โดยที่ระดับตัวแปรแท้จริงไม่เปลี่ยน แปลง นี่เองเป็นเหตุให้ Ron Mckinnon และ Bob Mundell เสนอว่า การลดค่าเงิน เป็นเครื่องมือที่ไร้ค่า

ผลของการลดค่าเงิน แต่นั่นก็เป็นข้อสรุปของกรณี PN flexible เนื่องจาก ถ้าตลาดแรงงานปรับตัวได้ดี + PN perfectly flexible ระบบ ศก จะได้ดุล IB ตลอดเวลา หากเป็นเช่นนี้ เรา สามารถให้ e คงที่ และให้ Auto. Adj. Mechanism (AAM) ดูแล EB แต่เพราะ PN ไม่ flexible เราจึงพึ่ง AAM ไม่ได้ แสดงว่า การลดค่าเงิน มีผลต่อ Real Economy คือ ไม่เกิด Complete Pass Through ของการลดค่าเงิน

ตัวอย่างการปรับตัว 1 RER=e PT*/PN EB 2 1 IB o m=M/PN

ตัวอย่างการปรับตัว 1 เริ่มจากจุดที่ 1 ที่มี inflation + BOP deficit AAM ทำให้เกิดการลดลงใน NFA และ M2 ศก มุ่งสู่จุด 2 ที่มีการว่างงานมากมาย ถ้า PN ลดลง ศก จะเกิดแรงขับเคลื่อนสู่ดุลภาพ ภายใน (IB) ตามความเป็นจริง ศก จะมีระดับราคาที่อ่อนไหว พอที่จะทำให้ศก เข้าสู่สุลยภาพบน EB ระหว่าง จุด 2 และดุลยภาพคู่ การลดค่าเงินยังคงจำเป็นที่จะนำ ศก สู่ดุลยภาพคู่

ตัวอย่างการปรับตัว 2 2 EB PN เพิ่ม 1 IB o Mo/PNo Mo/PN2 RER=e PT*/PN m=M/PN Mo/PN2

ตัวอย่างการปรับตัว 2 e เพิ่ม ที่จุด 0 เกิด BOP surplus ถ้ารัฐ sterilize การเพิ่มใน NFA NFA เพิ่ม แสดงว่า DC ต้องลด นั่นหมายถึง ธ.กลาง ต้องขาย Domestic Assets เช่น Gov’t Bond แต่จะทำได้ชั่วขณะ ไม่นานนัก M2 จะเพิ่ม ทำให้PN เพิ่มในที่สุด