กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
มีสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ความหมายของชุมชน (Community)
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
สวัสดิการสังคมไทย ในแผนฯ 11
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
จุดเด่น / จุดขาย ของร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช.....
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย

Thailand’s Poverty Declined Rapidly over the Past 40-50 Years Poverty Trend Thailand’s Poverty Declined Rapidly over the Past 40-50 Years

แม้ว่าการกระจายรายได้ระหว่างชั้นรายได้ดีขึ้น แต่ยังเป็นประเทศที่มีปัญหาความไม่เท่าเทียมที่สูงอยู่เมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ

กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย ไม่มีการศึกษาสาเหตุของปัญหาการกระจายรายได้ของประเทศไทยอย่างชัดเจน การศึกษาส่วนใหญ่มุ่งผลที่เกิดต่อการกระจายรายได้เป็นหลัก แต่การศึกษาต่างๆ เช่น เอื้อง มีสุข (2521) เมธี (2523) ฯลฯ แสดงให้เห็นว่าสาเหตุของความแตกต่างของการกระจายรายได้มีสาเหตุมาจาก ระดับการศึกษา  เรียนยิ่งสูงมีโอกาสหลุดจากความยากจนมากขึ้น โดยเฉพาะในชนบท* ลักษณะอาชีพ  เกษตร รับจ้าง ฯลฯ ขนาดครอบครัว โครงสร้างอายุบุคคลในครอบครัว (แหว่งกลาง) อายุหัวหน้าครอบครัว (น้อย) อ้างจาก อัมมาร สยามวาลา และสมชัยจิตสุชน แนวทางการแก้ไขความยากจน: เสรีนิยม ประชานิยม หรือรัฐสวัสดิการ สัมมนาวิชาการTDRI 2550

แนวทางการแก้ไขความยากจน เสรีนิยม หรือ ประชานิยม หรือ รัฐสวัสดิการ

แนวทางเสรีนิยม รัฐบาลในอดีต (2501-2540) ใช้แนวทางเสรีนิยมในการดำเนินการ รัฐบาลถอนตัวจากระบบเศรษฐกิจ ให้เอกชนเป็นผู้นำมีบทบาทแทน รัฐบาลลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน ใช้งบประมาณด้านโครงสร้างสังคม “การศึกษา สาธารณสุข ฯลฯ”

ผลการดำเนินงานตามแนวทางเสรีนิยม เพิ่มรายได้ประชาชน ทำให้ความยากจนลดน้อยลงในช่วงแรก การเพิ่มขึ้นของรายได้ลดน้อยลงในช่วงหลัง ปัญหาการกระจายรายได้เป็นเรื่องที่ไม่ได้แก้ไขเพราะ เน้นการเพิ่มรายได้เป็นหลัก และไม่แยกแยะนโยบายเพื่อคนจนออกจากนโยบายรัฐอื่นๆ (targeting) ปัญหาคนจนเรื้อรัง เข้าไม่ถึงบริการรัฐ ถูกกีดกันจากสังคม และเศรษฐกิจ ตัวอย่าง คนพิการ เพศ เชื้อชาติ ฯลฯ เข้าไม่ถึงแหล่งทุน ไม่มีการศึกษา ไม่มีทรัพย์สิน (ที่ทำกิน)

แนวทางของประชานิยม ไม่มีกรอบหลักการทางทฤษฎีที่อธิบายได้ชัดเจนถึงที่มาที่ไป เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นโดยอิสระในหลาย ๆ ประเทศในเวลาที่แตกต่างกัน เช่น รัสเซีย สหรัฐ และลาตินอเมริกา เช่นอาร์เจนตินา มุ่งเอื้อประโยชน์คนจนที่เป็นฐานรากของสังคม โดยลิดรอนสิทธิและอำนาจของ “ชนชั้นนำ” มักตามมาด้วยปัญหาเงินเฟ้อของประเทศ ดู: รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ทักษิโณมิคส์ (2550)

แนวทางของประชานิยมในประเทศไทย เริ่มในปี 2518-2519 โดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เงินผัน สวัสดิการพยาบาล รถเมล์ฟรี ประกันราคาพืชผลเกษตร ปฏิรูปที่ดิน ฯลฯ

แนวทางของประชานิยมในประเทศไทยยุคใหม่ มีสภาพเศรษฐกิจ-สังคมรองรับที่เกิดจากปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจก่อนหน้า เน้นการใช้จ่ายของรัฐบาลทั้งที่มาจาก รายจ่ายในและนอกงบประมาณ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจใหญ่ๆที่อาจช่วยแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียม ตัวอย่างภาษีที่ดิน-ทรัพย์สินใหม่ หลีกเลี่ยงการขัดผลประโยชน์ระหว่างกลุ่มคนจนและกลุ่มทุน

แนวทางของรัฐสวัสดิการในประเทศไทย สังคมแบบเดิมที่เป็นกลไกครอบครัวสามารถช่วยเหลือดูแลกันเองได้ สภาพสังคมโดยรวมเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมอุตสาหกรรม การอพยพเข้าเมืองใหญ่ ความเป็นปัจเจกมีมากขึ้น รัฐธรรมนูญ 2550 กำหนดแนวทางของรัฐสวัสดิการไว้ด้วย ส่วนว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ม. 44 การประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพการทำงานและหลักการประกันในการดำรงชีพ สิทธิและเสรีภาพการศึกษาการประกันการศึกษา 12 ปี ม. 49 สิทธิการรับบริการสาธารณสุข การสาธารณสุข ม. 51 ดูแลเด็ก คนชรา คนพิการ ม. 52-55 คนไร้ที่อยู่อาศัย ไม่มีรายได้เพียงพอแก่การดำรงชีพ

ความเสี่ยงในระบบเศรษฐกิจไทย ความผันผวนของรายได้คนไทยจากสาเหตุต่างๆ ภัยธรรมชาติ การย้ายถิ่น นโยบายรัฐไม่ชัดเจน ความชราภาพ ฯลฯ

การจัดการความเสี่ยง ควรมีทั้งที่เป็นการเตรียมการล่วงหน้า (ex ante) และหลังเกิดความเสี่ยง (ex post) ดำเนินการทั้งระดับบุคคล ท้องถิ่นหรือชุมชน และระดับประเทศหรือรัฐบาล

แนวโน้มความเป็นรัฐสวัสดิการของประเทศไทย ต้นทุนสูง แต่ประเทศไทยใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคมค่อนข้างต่ำประมาณ ร้อยละ 2 - 3 ของ GDP เท่านั้นในปี 2551/52 ขณะที่กลุ่มประเทศ พัฒนา OECD มีสูงถึงร้อยละ 6-32 ของ GDP

เงื่อนไขการเป็นรัฐสวัสดิการ ทางเลือก แนวทางการประกันสังคม โดยการร่วมจ่าย (บางส่วน) ของผู้ที่ได้รับประโยชน์ ปัญหา: ใช้ได้กับคนบางกลุ่มที่มีรายได้มากพอที่จะร่วมจ่าย แนวทางการใช้งบประมาณของรัฐบาลและให้ความคุ้มครองแบบถ้วนหน้า ปัญหา: การหาเงินภาษีหรือรายรับให้เพียงพอกับการใช้จ่าย เพราะทุกๆ คนมีสิทธิ (Entitle) ที่จะได้รับประโยชน์

เงื่อนไขการเป็นรัฐสวัสดิการ ทางเลือก: การทำการเลือกกลุ่มเป้าหมาย (Targeting) เฉพาะคนจนที่อยู่ในสภาพเปราะบาง เช่น การจ่ายเบี้ยผู้สูงอายุ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยโรคเอดส์ อาหารกลางวันให้แก่เด็กเล็ก เป็นต้น ปัญหา: การหากลุ่มคนจนหรือด้อยโอกาสดังกล่าวทำได้ยาก และอาจก่อปัญหาการทุจริตในการปฏิบัติได้ง่าย และมีต้นทุนสูงในการจัดการ