Rayleigh Scattering.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ จัดทำโดย
Advertisements

รุ้งพิเศษสำหรับท่าน เมฆมีขอบเป็นสีน้ำเงินทั้งนั้น และแต่ละวันที่
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ครูไพรินทร์ เจริญศิริ hotmail.com
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
การสะท้อนและการหักเหของแสง
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
LCD Monitor. ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● หลักการทำงานของมอนิเตอร์
ตรีโกณมิติ.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ราคา ถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ จำกัด ความเร็ว ในกรณีเป็นสาย แบบไม่มีชีลด์ ก็ จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
ความหมายและชนิดของคลื่น
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
กาแล็กซีและเอกภพ.
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
ท้องฟ้ามีการกระเจิงทั้ง2แบบคือ Rayleingh Scatteringและ Mie Scattering
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
เทคนิคการถ่ายภาพ.
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ยูเรนัส (Uranus).
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
863封面 ทองคำ เขียว.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Rayleigh Scattering

Rayleigh Scattering ปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อแสงตกกระทบยังอนุภาคเล็กๆในอากาศ หรือ โมเลกุลขนาดเล็กของแก๊สในบรรยากาศ แล้วแสงเกิดการกระเจิงโดย กระบวนการที่เรียกว่า “การกระเจิงแสงแบบเรย์เล” (Rayleigh Scattering) เป็นการกระเจิงแสงแบบยืดหยุ่น (elastic scattering) หรือการแผ่รังสีของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยอนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่นของแสง โดย ไม่ใช่ที่ทุกความยาวคลื่นจะเกิดการกระเจิงได้ท่ากันหมด แต่แสงที่มีความยาว คลื่นสั้นกว่าจะกระเจิงแสงได้ดีมากกว่าแสงที่มีความยาวคลื่นที่ยาวกว่า มันสามารถเกิดขึ้นเมื่อแสงเดินทางผ่านของแข็งและของเหลวที่มีลักษณะโปร่งแสง แต่ส่วนมากมักจะเห็นชัดเมื่อสารมีสถานะเป็นแก๊ส

Rayleigh Scattering การกระเจิงแสงแบบเรย์เล : เป็นการกระจัดกระจายที่เกิดขึ้น กับช่วงคลื่นที่มี ขนาดยาวมากกว่า เส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคต่างๆ ในบรรยากาศ หรือน้อย กว่า 0.1 micron เช่น โมเลกุลของก๊าซ “ออกซิเจน และไนโตรเจน” อัตราการกระจัดกระจาย จะเป็นส่วนกลับกับขนาดช่วงคลื่นยกกำลัง 4 มีผลทำ ให้ช่วงคลื่นขนาดสั้นถูกกระจัดกระจายกลับในชั้นบรรยากาศ เช่น ช่วงคลื่นสี น้ำเงิน ซึ่งมีขนาดสั้นสุดที่ตามองเห็น ก็จะถูกกระจัดกระจายกลับมากที่สุด ทำ ให้เรามองเห็นท้องฟ้า และ ภูเขา จากระยะไกลเป็นสีฟ้า หรือ น้ำเงิน

จากกฎของเบียร์ ถ้า b = 1 cm และC= 1 M สำหรับอนุภาคขนาดเล็ก การกระเจิงแสง >>> การดูดกลืนแสง การกระเจิงแสง : Turbidity = 

ในทางปฏิบัติ จะวัด I ที่ถูกกระเจิง (Is) ในทุกทิศทางทำได้ยาก จึงวัดความ เข้มแสงที่ถูกกระเจิงที่มุมต่างๆได้ โดย กำหนดค่าคงที่ Rayleigh (ได้จากการทดลอง) วัดความเข้มแสงที่มุม θ H = Proportinality constant is = ความเข้มแสงที่ถูกกระเจิงทิศทางใดๆวัดที่ระยะ r และมุม θ B = Constants depend on medium

จะได้ว่า ทดลองการหามวลโมเลกุลของอนุภาค

ทำไมท้องฟ้าถึงเป็นสีฟ้า??? เนื่องจากโมเลกุลของก๊าซในบรรยากาศของเรา จะกระเจิงแสงสีฟ้าได้ดีกว่า โดยเฉพาะก็คือ โมเลกุลของก๊าซอ๊อกซิเจน และไนโตรเจน จะ กระเจิงแสงสีฟ้าได้ดีกว่าสีแดงที่มีความยาว คลื่นมากกว่าสีฟ้า แต่ความจริงแล้ว แสงสีม่วงก็ยิ่งกระเจิงได้ดีกว่า แสงสีฟ้า16 เท่า แต่ในเรติน่าของคนเรา มี ประสาทรับแสงที่ไวต่อแสงสีฟ้ามากกว่าสีม่วง จึงมองไม่ค่อยเห็นส่วนที่เป็นสีม่วง แต่จะเห็นสี ฟ้ามากกว่า

แล้วทำไมท้องฟ้าถึงเป็นสีแดงเวลาพระอาทิตย์ตก???

เป็นเพราะว่า… จากรูปนี้จะเห็นได้ถนัดว่า มุมที่ต่างกันของแดดที่เข้าตาเรา จะทำให้เรามองเห็นสีต่างกันไปด้านซ้ายจะเห็นว่า ชั้นของบรรยากาศเมื่อแสงเข้ามาตรงๆ จะบางกว่าเมื่อเข้ามาในมุมทแยงมากกว่ามากเลยค่ะ ในรูปขวา เมื่อแสงทแยงมากๆเข้าจนกลายเป็นมุมราบ สีฟ้าที่กระเจิงออกไปก็หายไปในอวกาศเลยค่ะ อันนี้คงอธิบายได้ว่า ทำไมฟ้าจึงเป็นสีแดงเมื่อพระอาทิตย์ใกล้ตกเท่านั้น เพราะต้องรอให้แสงอาทิตย์เกือบจะเป็นมุมราบแล้วเท่านั้น ถึงจะกำจัดแสงสีฟ้า ด้วยการที่มันกระเจิงออกไปในอวกาศ ได้มากพอจนแสงสีแดงเด่นชัดขึ้นมา

สรุปคือ สีของท้องฟ้านั้นมีสาเหตุมาจากการกระเจิงของแสงอาทิตย์กระทบกับโมเลกุลของอากาศ ซึ่งเรียกว่าการกระเจิงแบบเรย์เล ในช่วงความยาวคลื่นสั้นจะเกิดการกระเจิงแสงมาก ทำให้เห็นสีฟ้าซึ่งเป็นช่วงของแสงสีที่ตาคนเราสามารถมองเห็นได้ ดังนั้น แสงที่กระเจิงลงมายังโลกยังโลกในมุมที่กว้าง กับการพิจารณาทิศทางของแสงจากดวงอาทิตย์ มีอิทธิพลอย่างยิ่งในการมองเห็นสีฟ้าบนท้องฟ้า

...จบ... ขอบคุณครับ/ค่ะ

Refference “http://www.vcharkarn.com/vcafe/10373”; accessed on August 30, 2009 “http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/Hbase/ atmos/blusky.html”; accessed on August 30, 2009

คณะผู้จัดทำ นางสาวกนกวรรณ จันทร์พลอย รหัส 500510001 นางสาวกนกวรรณ จันทร์พลอย รหัส 500510001 นายณัฐวุฒิ ใจบุญ รหัส 500510066 นางสาวธีรารัตน์ ปันอ่วม รหัส 500510076 นางสาวนริศรา ศิริ รหัส 500510079 นางสาวนารีรัตน์ เหมโลหะ รหัส 500510084 นางสาวนิลุบล ยศทองงาม รหัส 500510085 นางสาวเนตรชนก อ้วนเทิง รหัส 500510089 นายประทีป เจริญวัง รหัส 500510097 นางสาวพิมพ์พร อินเสน รหัส 500510121 นายโพธิศักดิ์ โพธิเสน รหัส 500510125 นางสาวหัสยา มาระดา รหัส 500510178