ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

PINKLAO USES FOR HANGING THE ARM & LEG 2010
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลังงาน.
นาย ณัฐวุฒิ อยู่เกษ โปรแกรมวิชา ดนตรี เสนอ
1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Homework 2D Equilibrium of Particle
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
ระบบอนุภาค.
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
เรื่อง ทักษะการเล่นวอลเล่ย์บอล
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การควบคุมคลัตช์ ด้วยน้ำมัน
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล m2 จะมีค่าเท่าไร

ลองคิดดู 2 นักดับเพลิง 2 คน ต้องใช้แรง 600 N ในการพยุงหัวจ่ายน้ำ ซึ่งจ่ายน้ำในอัตรา 3600 L/min จงหาค่าความเร็วของน้ำที่จ่ายออกมาจากหัวฉีด

ลองคิดดู 3 ชายคนหนึ่งถือสายยางเพื่อรดน้ำต้นไม้อยู่ในสวน เขาจะต้องออกแรงเท่าไรเพื่อที่จะถือสายยางในอยู่นิ่งถ้าน้ำไหลผ่านสายยางด้วยอัตรา 0.6 kg/s ด้วยความเร็ว 25 m/s

หินก้อนหนึ่งแตกออกเป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 มีมวล 1 kg กระเด็นไปด้วยอัตรา เร็ว 12 m/s ส่วนที่ 2 มีมวล 2 kg กระเด็นไปด้วยอัตราเร็ว 8 m/s โดยสองส่วนนี้ทำมุมฉากต่อกัน ส่วนที่ 3 เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 40 m/s จงหามวลส่วนที่ 3 ลองคิดดู 4

ลองคิดดู 5 ปืนใหญ่มวล 500 kg ด้านหลังยึดติดกับสปริงที่อยู่ในแนวราบ เมื่อยิงกระสุนมวล 10 kg ออกไปด้วยความเร็ว 200 m/s ในแนวราบ ปืนจะถอยหลังชนสปริงหดเข้าไปมากที่สุดเท่าไร ถ้าสปริงมีค่านิจ 2,000 N/m

ลองคิดดู 6 สุนัขมวล 5 kg ยืนอยู่ที่ท้ายเรือซึ่งมีมวล 20 kg ถ้าหัวเรืออยู่ห่างจากฝั่งเป็นระยะ 10 เมตร และลำเรือยาว 5 เมตร เมื่อสุนัขเดินจากท้ายเรือไปถึงหัวเรือแล้ว สุนัขจะอยู่ห่างจากฝั่งเท่าไร

ลองคิดดู 7 กล่อง m มวล 1.0 kg กล่อง M มวล 3.0 kg กล่องทั้งสองถูกกดเข้าหากันโดยมีสปริงอยู่ระหว่างกลาง ถ้าสปริงเบาและไม่ได้ยึดติดกับมวลทั้งสอง เมื่อปล่อยให้ระบบคลายตัวบนพื้นไม่มีแรงเสียดทาน สปริงจะตกบนพื้นและกล่อง M มีความเร็ว 0.80 m/s จงหาความเร็วกล่อง m และพลังงานศักย์ยืดหยุ่นก่อนคลายตัว 0.8 m/s v

ลองคิดดู 8 นาย ก และนาย ข มีมวล 100 และ 50 กิโลกรัมตามลำดับ ยืนอยู่บนพื้นราบลื่นผูกติดด้วยเชือกเบายาว 9 เมตร เมื่อ ก ดึงเชือกเข้าหาตัวเอง ก จะเลื่อนเข้าชนกันกับ ข ณ ตำแหน่งที่ห่างจากตำแหน่งเดิมของ ก เป็นระยะเท่าใด

ลองคิดดู 9 วัตถุมวล m ไถลลงจากจุดที่สูง h บนลิ่มมวล M ดังรูป ถ้าทุกผิวสัมผัสไม่มีแรงเสียดทาน และ M = 5m ลิ่มจะมีอัตราเร็วเท่าไรเมื่อวัตถุทั้งสองแยกออกจากกัน เมื่อ m ถึงปลายล่างสุด

ลองคิดดู 10 ครูเทวัญ ประดิษฐ์รถพลังลมดังรูป โดยให้โมเมนตัมของโมเลกุลอากาศกระทบกระดานทางซ้ายเพื่อผลักรถไปข้างซ้ายได้ ความคิดนี้ใช้ได้หรือไม่ อย่างไร