การทดสอบสมมติฐานผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร ที่เป็นอิสระต่อกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติ.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
T-Test compare with mean Independent Paired
ติดตามดูงานของหน่วยงานในพื้นที่สำนักบริหารพื้นที่ อนุรักษ์ที่ 1 สาขาสระบุรี  กิจกรรมงานสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2552 ติดตามดูงานของหน่วยงานในพื้นที่สำนักบริหาร.
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
กรอบการนำเสนอ - วิสัยทัศน์ ภาพพื้นที่เขต อำนาจหน้าที่
(Mantel-Heanszel Produrc)
แบบฝึกหัด ในการสุ่มตัวอย่างนักศึกษา ปวส. ที่มีความวิตกกังวลในการเรียน จำนวน25 คนเป็นชาย 15 คน หญิง 10 คน ผลการสำรวจปรากฏดังนี้ อยากทราบว่านักเรียนชายละนักเรียนหญิงที่มีความวิตกกังวลในการเรียนต่างกันหรือไม่
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
คุณลักษณะผู้นำของผู้จัดการ
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่าน คลาวด์คอมพิวติงสำหรับสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน NEC 2013 ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ.
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
กรอบเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาหลักสูตรชั่วโมง 1. ส่วนที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะ 180 ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์  ภาวะผู้นำทางวิชาการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาหลักการจัดการของนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการ.
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบสมมติฐานผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร ที่เป็นอิสระต่อกัน กรณีที่ ความแปรปรวนเท่ากัน กรณีที่ความแปรปรวนไม่เท่ากัน

ตัวอย่าง : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแห่งหนึ่ง ได้ศึกษาการจัดทำงบประมาณโครงการพัฒนาผู้เรียน ให้มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ของสถานศึกษาต่างๆ จาก 2 อำเภอ โดย สุ่มสถานศึกษา จากอำเภอที่ 1 มา 5 แห่ง และจากอำเภอที่ 2 มา 6 แห่ง พบว่าสถานศึกษา ได้จัดทำงบประมาณโครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ดังนี้ (บาท) อำเภอที่ 1 : 8260 8130 8350 8070 8340 อำเภอที่ 2 : 7950 7890 7900 8140 7920 7840 ถ้างบประมาณของสถานศึกษาจากทั้ง 2 อำเภอ มีความแปรปรวนเท่ากัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแห่งนี้จะกล่าวได้หรือไม่ว่า อำเภอที่ 1 จัดทำงบประมาณสูงกว่า อำเภอที่ 2

วิธีทำ : ให้ และ เป็นงบประมาณของสถานศึกษาจากอำเภอที่ 1 และ 2 2. สถิติที่ใช้ คือ จากข้อมูลคำนวณค่า กรณีที่ ความแปรปรวนเท่ากัน 3. ระดับนัยสำคัญ = 0.05 4. บริเวณปฏิเสธ H0 คือ t > 1.833 6. ปฏิเสธ H0 นั่นคือ งบประมาณจากอำเภอที่ 1 สูงกว่าอำเภอที่ 2

การทดสอบสมมติฐานผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร กรณีตัวอย่างมีความสัมพันธ์กัน ตัวสถิติทดสอบ ตัวอย่าง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตการศึกษาแห่งหนึ่ง ต้องการศึกษาความคิดริเริ่ม วิสัยทัศน์และความเป็นผู้นำทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยมีความเชื่อว่าผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้ร่วมเดินทางไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ จะมี ความคิดริเริ่ม วิสัยทัศน์ และ ความเป็นผู้นำทางวิชาการ สูงขึ้น จากการสุ่มผู้บริหารศึกษามา 10 คน แล้วทดสอบ ความคิดริเริ่ม วิสัยทัศน์ และ ความเป็นผู้นำทางวิชาการ จากนั้นพาผู้บริหารเหล่านั้นไปศึกษาดูงานต่างประเทศ เป็นเวลา 2 สัปดาห์ และทำการทดสอบความคิดริเริ่ม วิสัยทัศน์ และ ความเป็นผู้นำทางวิชาการ ของผู้บริหาร อีกครั้ง ปรากฏผลดังนี้ ผู้บริหารคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ก่อนการศึกษาดูงาน :X1 178 172 185 184 201 201 160 168 180 179 หลังการศึกษาดูงาน :X2 181 172 190 187 210 202 166 173 183 184 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ความเผู้อำนวยการสำนักงานเขตการศึกษาผู้นี้ถูกต้องหรือไม่

4. บริเวณปฏิเสธ H0 คือ t > 1.833 วิธีทำ ให้ เป็นค่าเฉลี่ยของผลต่างของคะแนนความคิดริเริ่ม วิสัยทัศน์ และ ความเป็นผู้นำ ทางวิชาการ ห้าง x2 x1 D=x2-x1 1 181 178 3 2 172 172 0 3 190 185 5 4 187 184 3 5 210 201 9 6 202 201 1 7 166 160 6 8 173 168 5 9 183 180 3 10 184 179 5 2. สถิติทดสอบ 4. บริเวณปฏิเสธ H0 คือ t > 1.833 6. ปฏิเสธ H0 นั่นคือ คะแนนหลังการศึกษาดูงานสูงกว่าก่อนการศึกษาดูงาน