เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
การทดสอบสมมติฐานผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร ที่เป็นอิสระต่อกัน
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
เงิน.
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
Menu Analyze > Correlate
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
การทดสอบสมมติฐาน
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
แบบฝึกหัด ในการสุ่มตัวอย่างนักศึกษา ปวส. ที่มีความวิตกกังวลในการเรียน จำนวน25 คนเป็นชาย 15 คน หญิง 10 คน ผลการสำรวจปรากฏดังนี้ อยากทราบว่านักเรียนชายละนักเรียนหญิงที่มีความวิตกกังวลในการเรียนต่างกันหรือไม่
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การแจกแจงปกติ.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
นางสาวสิรินทรา มาลารัตน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของสองประชากร โดยประชากรทั้ง 2 กลุ่มเป็นอิสระต่อกัน

เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้

การตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับผลต่างของค่าเฉลี่ย 2 ประชากร

กรณีที่ 1 ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม (ทราบ ) การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับผลต่างของค่าเฉลี่ย 2 ประชากร อิสระต่อกัน แบ่งออกเป็น 4 กรณีดังนี้ กรณีที่ 1 ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม (ทราบ ) กรณีที่ 2 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม แต่ตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (ไม่ทราบ แต่ ) กรณีที่ 3 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม และตัวอย่างมีขนาดเล็ก แต่ทราบว่าความแปรปรวนของ ประชากรทั้งสองกลุ่มเท่ากัน (ไม่ทราบ , แต่ ) กรณีที่ 4 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม และตัวอย่างมีขนาดเล็ก แต่ทราบว่าความแปรปรวนของ ประชากรทั้งสองกลุ่มไม่เท่ากัน (ไม่ทราบ , แต่ )

กรณีที่ 1 ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม (ทราบ ) สถิติทดสอบคือ

กรณีที่ 2 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม แต่ตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (ไม่ทราบ แต่ ) สถิติทดสอบคือ

กรณีที่ 3 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม และตัวอย่างมีขนาดเล็ก แต่ทราบว่าความแปรปรวนของ ประชากรทั้งสองกลุ่มเท่ากัน (ไม่ทราบ , แต่ ) สถิติทดสอบคือ

กรณีที่ 4 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม และตัวอย่างมีขนาดเล็ก แต่ทราบว่าความแปรปรวนของ ประชากรทั้งสองกลุ่มไม่เท่ากัน (ไม่ทราบ , แต่ ) สถิติทดสอบคือ

ตัวอย่าง 5.5 ในการฝึกอบรมพนักงานขายสินค้า เพื่อทำการทดสอบความรู้ จึงทำการสุ่มพนักงานขายสินค้าจำนวน 2 กลุ่ม กลุ่มแรก 40 คน และกลุ่มที่สอง 50 คนตามลำดับ ปรากฏว่าจากผลการทดสอบภายหลังการอบรม กลุ่มแรกได้คะแนนเฉลี่ย 85 คะแนน ด้วยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 15 กลุ่มที่สองได้คะแนนเฉลี่ย 78 คะแนน ด้วยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 จงทดสอบดูว่าผลการฝึกอบรมของทั้งสองกลุ่มแตกต่างกันหรือไม่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 วิธีทำ

ตัวอย่าง 5.6 ในการศึกษาถึงค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาต่อเดือนของเครื่องจักร A และเครื่องจักร B ถ้าทราบว่าค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่องจักรทั้งสอง มีการแจกแจงแบบปกติ และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 320 บาท และ 150 บาท สุ่มตัวอย่างเครื่องจักรทั้งสองมาได้ข้อมูลดังนี้ จงทดสอบว่าค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่องจักร A แตกต่างจาก เครื่องจักร B มากกว่า 400 บาท หรือไม่ โดยใช้ระดับนัยสำคัญ 0.10 ข้อมูล เครื่องจักร A เครื่องจักร B จำนวนตัวอย่าง 30 ค่าบำรุงรักษาเฉลี่ย (บาท) 1,000 580

วิธีทำ

ตัวอย่าง 5.7 จากการเปรียบเทียบยอดขายต่อเดือนของร้านขายยาขนาดเล็ก โดยสุ่มร้านที่อยู่นอกเขตอำเภอเมืองจำนวน 10 ร้าน และในเขตอำเภอเมืองจำนวน 20 ร้าน ได้ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของยอดขายดังนี้ (หน่วยพันบาท) ถ้าทราบว่ายอดขายต่อเดือนของร้านขายยามีการแจกแจงแบบปกติที่มีความแปรปรวนไม่เท่ากันระดับนัยสำคัญ 0.01 จะสรุปได้หรือไม่ว่า ยอดขายเฉลี่ยต่อเดือนของร้านขายยานอกเขตอำเภอเมืองต่ำกว่ายอดขายต่อเดือนของร้านขายยาที่อยู่ในเขตอำเภอเมือง ข้อมูล นอกเขตอำเภอเมือง เขตอำเภอเมือง ยอดขายเฉลี่ย ความแปรปรวน 65 160 72 300

วิธีทำ