การสุ่มงาน(Work Sampling) Work sampling เป็นเทคนิคของการวัดงานอย่างหนึ่ง โดยผู้วิเคราะห์จะไปเก็บ ข้อมูลยังสถานที่ทำงานแบบสุ่มเป็นครั้งคราว ไม่ต้องมีการจับเวลา บางครั้งเรียก Ratio-delay study, Activity sampling ใช้หาค่าสัดส่วนการทำงานหรือว่างงาน ใช้วัดสมรรถนะการทำงานของรายบุคคลหรือกลุ่มบุคคล หรือเครื่องจักร ใช้หาเวลามาตรฐาน กิจกรรมที่สังเกตเป็น discrete และเป็นกิจกรรมที่เป็นแบบเกิด-ไม่เกิด จึงตรงกับลักษณะของการแจกแจงแบบทวินาม(Binomial Distribution)
หัว(p) ก้อย(1-p) จำนวนครั้ง 5 0 3 4 1 17 3 2 30 2 4 30 1 4 17 0 5 3 5 0 3 4 1 17 3 2 30 2 4 30 1 4 17 0 5 3 โยนเหรียญพร้อมกัน 5 เหรียญ 100 ครั้ง โยน 100 เหรียญ พร้อมกัน 500 ครั้ง
P = สัดส่วนของกิจกรรมที่เราสนใจ x = จำนวนครั้งที่เกิดกิจกรรม จากการสังเกต n ครั้ง n = จำนวนครั้งของการสังเกต
= p
ถ้าค่าของ n เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ค่าของ x/n จะมีแนวโน้มการแจกแจง เป็น normal distribution มีค่า mean = 0 และ std dev = 1 (1- a) a 2 -z +z
หรือ
ดังนั้น k = 1, area = 68.27% 2 95.45% 3 99.73% และ Absolute error
ที่ความเชื่อมั่น 95% จะมีพื้นที่ใต้โค้ง + 2 ตัวอย่าง 1 จงหาสัดส่วนและเวลาว่างงานของ พนักงานแผนกซ่อมบำรุง ซึ่งมี 5 คน เมื่อสุ่มสังเกตจำนวน 300 ครั้ง พบว่าว่างงาน 90 ครั้ง เมื่อกำหนดระดับ ความเชื่อมั่น 95% อัตราส่วนการว่างงาน = p = 90/300 = 0.30 ที่ความเชื่อมั่น 95% จะมีพื้นที่ใต้โค้ง + 2 s
สัดส่วนการว่างงาน = 0.30 + 0.0530 = 0.2470 ถึง 0.3530 = 0.0265 s 2 = 0.0530 สัดส่วนการว่างงาน = 0.30 + 0.0530 = 0.2470 ถึง 0.3530 ถ้าคิด 8 ช.ม. ต่อวันต่อคน จำนวน 5 คน = 40 ชั่วโมง ดังนั้น จำนวนชั่วโมงว่างงาน = (40)(0.2470) = 9.88 ช.ม. = (40)(.03530) = 14.12 ช.ม.
ถึง 0 มี พ.ท.ใต้โค้ง เท่ากับ 0.5000 .9545 .4772 .5000 .4772 - z -z = -2 z =2 ค่า z จาก - ถึง 0 มี พ.ท.ใต้โค้ง เท่ากับ 0.5000 รูปซ้ายและขวามีพื้นที่ใต้โค้งเท่ากันคือ 0.9545