อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
ลิมิตและความต่อเนื่อง
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
สาระการเรียนรู้ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
อสมการ (Inequalities)
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
เศษส่วน.
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน ( 2 )
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การคูณและการหารเอกนาม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน แบบฝึกทักษะชุดที่ 4 อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน คือ อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน คือ

การเปรียบเทียบปริมาณมากกว่าสองปริมาณ เช่น

อัตราส่วนของจำนวนเป็ดต่อจำนวนไก่ต่อจำนวนนก เป็น 3 : 1 : 5

เป็น 3 : 1 : 5 อัตราส่วนดังกล่าว เป็น 3 : 1 : 5 อัตราส่วนดังกล่าว มีความหมาย ดังนี้

จะมีไก่ 1 ตัว และมีนก 5 ตัว ถ้ามีเป็ด 3 ตัว จะมีไก่ 1 ตัว และมีนก 5 ตัว

ถ้ามีเป็ด 6 ตัว จะมีไก่ 2 ตัว และมีนก 10 ตัว

ถ้ามีเป็ด 9 ตัว จะมีไก่ 3 ตัว และมีนก 15 ตัว

ถ้ามีเป็ด 12 ตัว จะมีไก่ 4 ตัว และมีนก 20 ตัว

อัตราส่วนสองอัตราส่วน ซึ่งมีจำนวนใดจำนวนหนึ่งเป็นสมาชิกของอัตราส่วนทั้งสอง

สามารถเขียนอัตราส่วนทั้งสองรวมเข้าเป็นอัตราส่วนเดียวกัน ดังนี้ สามารถเขียนอัตราส่วนทั้งสองรวมเข้าเป็นอัตราส่วนเดียวกัน ดังนี้

จำนวนซึ่งเป็นสมาชิกของอัตราส่วนทั้งสองมีค่าเท่ากัน ให้นำอัตราส่วนทั้งสองมาเขียนรวมกัน เป็นอัตราส่วนเดียว โดยที่อัตราส่วนนั้นมีสมาชิกสามตัว

(จำนวนซึ่งเป็นสมาชิกของอัตราส่วนทั้งสองเขียนเพียงครั้งเดียว) เช่น (จำนวนซึ่งเป็นสมาชิกของอัตราส่วนทั้งสองเขียนเพียงครั้งเดียว) เช่น

อัตราส่วนของ B : C เป็น 8 : 5 อัตราส่วนของ A : B : C เป็น 3 : 8 : 5 เป็น 3 : 8 : 5

2. จำนวนซึ่งเป็นสมาชิกของอัตราส่วน ทั้งสองค่าไม่เท่ากัน

ให้นำจำนวนใดๆ คูณอัตราส่วนทั้งสอง เพื่อปรับให้จำนวนซึ่งเป็นสมาชิกของอัตราส่วนทั้งสองมีค่าเท่ากับตัวคูณร่วมน้อยของจำนวนนั้น

แล้วจึงรวมอัตราส่วนทั้งสองให้เป็นอัตราส่วนเดียวตามข้อ 1 เช่น

อัตราส่วนของ A : B เป็น 2 : 6 = 2  4 : 6  4 = 8 : 24 อัตราส่วนของ B : C เป็น 8 : 3 = 8  3 : 3  3 = 24 : 9 อัตราส่วนของ A : B : C เป็น 8 : 24 : 9  

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน ( 1 ) Exercise 4 ( ratio ) อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน ( 1 )

คำชี้แจง จงเขียนอัตราส่วนต่อไปนี้ให้เป็นอัตราส่วนเดียว ( ข้อละ 1 คะแนน )  

ตัวอย่าง A : B = 1 : 3 B : C = 3 : 5 จงหาอัตราส่วน A : B : C

วิธีทำ A : B = 1 : 3 B : C = 3 : 5 ดังนั้น A : B : C = 1 : 3 : 5

A : B = 2 : 7 B : C = 7 : 1 จงหาอัตราส่วน A : B : C วิธีทำ A : B = .......................... B : C = .......................... ดังนั้น A : B : C = .................................................

B : C = 5 : 4 จงหาอัตราส่วน A : B : C

A : B = 2 : 5 B : C = 5 : 3 C : D = 3 : 7 จงหาอัตราส่วน A : B : C : D วิธีทำ A : B = .............................. B : C = ............................ C : D = ........................... ดังนั้น A : B : C : D = ....................

A : B = 2 : 3 B : C = 4 : 5 C : D = 15 : 21 จงหาอัตราส่วน A : B : C : D วิธีทำ A : B = ................................ B : C =................................ C : D = ................................ ดังนั้น A : B : C : D = ....................

เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 4 อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน ( 1 ) เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 4 อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน ( 1 )

A : B = 2 : 7 B : C = 7 : 1 จงหาอัตราส่วน A : B : C วิธีทำ A : B = 2 : 7 B : C = 7 : 1 ดังนั้น A : B : C = 2 : 7 : 1

A : B = 2 : 3 B : C = 5 : 4 จงหาอัตราส่วน A : B : C วิธีทำ A : B = 2 : 3 = 2  5 : 3  5 = 10 : 15 B : C = 5 : 4 = 5  3 : 4  3 = 15 : 12 ดังนั้น A : B : C = 10 : 15 : 12

A : B = 2 : 5 B : C = 5 : 3 C : D = 3 : 7 วิธีทำ A : B = 2 : 5 จงหาอัตราส่วน A : B : C : D วิธีทำ A : B = 2 : 5 B : C = 5 : 3 C : D = 3 : 7 ดังนั้น A : B : C : D = 2 : 5 : 3 : 7

A : B = 2 : 3 B : C = 4 : 5 C : D = 15 : 21 จงหาอัตราส่วน A : B : C : D วิธีทำ A : B = 2 : 3 = 2  4 : 3  4 = 8 : 12 B : C = 4 : 5 = 4  3 : 5  3 = 12 : 15 C : D = 15 : 21 = 15 : 21 ดังนั้น A : B : C : D = 8 : 12 : 15 : 21

พบกันใหม่ ชุดที่ 5 นะจ๊ะ