Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
คณิตศาสตร์ : สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
Surachai Wachirahatthapong
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
A.1 Real Numbers and Their Properties
BY PRATIPA GEENASON MATTAYOM 4/1 CODE 15
Exponent and Radicals Appendix 2
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
เศษส่วน.
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
Electrical Engineering Mathematic
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
การคูณและการหารเอกนาม
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน นางสาว อารยา จำปัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 เลขที่ 24 เสนอ อาจารย์ ชัยสิทธิ์ พงษ์พัฒน

Combine รวมกัน การนำสิ่งของหรืออื่นๆ ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป มาผนวกเขาด้วยกัน หรือนำมาอยู่ร่วมกัน เช่น combine radicals แปลว่า การรวมกันของอนุมูล

Denominator ตัวหาร เลขที่นำมาหารตัวตั้ง เช่น 36 ÷ 6 โดยที่ 6 คือตัวหาร 36 คือตัวตั้ง 120 ÷ 12 โดยที่ 12 คือตัวหาร 120 คือตัวตั้ง

Multiplication การคูณ การคูณ คือ การดำเนินการทางคณิตศาสตร์อย่างหนึ่ง ทำให้เกิดการเพิ่มหรือลดจำนวนจำนวนหนึ่งเป็นอัตรา การคูณเป็นหนึ่งในสี่ของการดำเนินการพื้นฐานของเลขคณิตมูลฐาน การคูณสามารถนิยามบนจำนวนธรรมชาติว่าเป็นการบวกที่ซ้ำๆ กัน ตัวอย่างเช่น 4 คูณด้วย 3 หมายถึงการบวกจำนวน 4 เข้าไป 3 ชุด ดังนี้ 4 + 4 + 4 = 12

Numerator ตัวเศษ ตัวเลขที่อยู่ด้านบนของเศษส่วน เป็นตัวบ่งบอกว่ามีจำนวนส่วนที่เท่ากันอยู่เท่าไรในส่วนรวมทั้งหมด เช่น ในเศษส่วน 3/4 ตัวเลข 3 คือตัวเศษ หมายความว่ามีวัตถุ 3 ส่วนจากทั้งหมด 4 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีขนาดเท่าๆ กันคือ 1/4

Decimal ทศนิยม การเขียนตัวเลขประเภทเศษส่วนเป็น 10 หรือ 10 ยกกำลังต่างๆ แต่เปลี่ยนรูปจากเศษส่วนมาเป็นรูปทศนิยม โดยใช้เครื่องหมาย . (จุด)แทน เช่น ส่วนที่แรเงาคือ 7/10 = 0.7

Notation เครื่องหมาย สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้เพื่อให้เข้าใจโดยทั่วกันและเป็นสัญลักษณ์ที่จะช่วยให้สื่อความหมายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น = คือ เครื่องหมายเท่ากับ + คือ เครื่องหมายบวก - คือ เครื่องหมายลบ เป็นต้น

Cube root รากที่สาม ในทางคณิตศาสตร์ รากที่สาม ของจำนวน x คือจำนวนที่เมื่อคูณด้วยตัวมันเองแล้ว นำผลลัพธ์ไปคูณตัวมันเองอีกครั้ง จะได้ค่า xตัวอย่างเช่น รากที่สามของ 8 คือ 2 เพราะว่า 2x2x2 = 8

ขอบคุณค่ะ