ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รอบรู้อาเซียน.
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ประชาคมอาเซียน.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
เหลียวหลัง / แลหน้า ASEAN - AEC
การเชื่อมโยงการค้าอาเซียนขีนผ่านกรอบการค้า เสรี หรือ fta ก่อให้เกิดผลดีผลเสียต่อ ผู้ประกอบการไทยอย่างไร สถานการณ์และรูปแบบที่ทุนจีนเข้ามาลงทุนใน ไทยเป็นอย่างไร.
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทข้าราชการฝ่ายปกครอง กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
การศึกษาในสังคมอาเซียน
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
A ASEAN E ECONOMICS C COMMUNITY GO TO 31 DECEMBER 2015 FOR THAI CUSTOMS DEPARTMENT นักวิชาการศุลกากร ชำนาญการพิเศษ :
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย   ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11 มิถุนายน 2557 ขอนแก่น

ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย ความเป็นประชาคม ASEAN (AC) ประวัติความเป็นมาของประชาคม ASEAN + GMS AC กับจุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย

1. ความเป็นประชาคม ASEAN (AC) 1954 จาก SEATO สู่ ASEAN 1997 1995 1967 1954-1977 – SEATO จากการผลักดันโดยสหรัฐ 1997 1999 1967 1967 1967 1967 1984 1967 --- ก่อตั้ง ASEAN โดยเริ่มจาก 5 ประเทศ แล้วค่อยๆขยายเป็น 10 ประเทศ

ภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียน 1. ความเป็น AC (ต่อ) ภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน “วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว” ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคง APSC Blueprint ประชาคมเศรษฐกิจ AEC Blueprint ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASCC Blueprint แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (MPAC) (ด้านกายภาพ ด้านสถาบัน และด้านประชาชน)

1. ความเป็น AC (ต่อ) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 4 เป้าหมายใน AEC Blueprint เพื่อการเป็นหนึ่งเดียว คือ ASEAN การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน การเป็นภูมิภาคที่มีความ สามารถในการแข่งขันสูง Single Market and Production Base High Competitive Economic Region 1 2 การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนา ทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน การเป็นภูมิภาคที่บูรณาการเข้า กับเศรษฐกิจโลกได้อย่างสมบูรณ์ Equitable Economic Development Integration into Global Economy 3 4

1. ความเป็น AC (ต่อ) สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ตั้งแต่ปี 2015.... สินค้า ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ภาษีนำเข้าลดมาตั้งแต่ 1994 ลงเป็นศูนย์ / อุปสรรคนำเข้าระหว่าง ASEAN ด้วยกันหมดไป สินค้า ทำธุรกิจบริการใน ASEAN ได้อย่างเสรีมากขึ้น ธุรกิจบริการ ลงทุนใน ASEAN ได้อย่างเสรี ลงทุน แรงงานมีฝีมือที่มี MRAs เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีใน ASEAN แรงงาน เคลื่อนย้ายเงินทุนได้อย่างเสรีมากขึ้นใน ASEAN เงินทุน

2. ประวัติความเป็นมาของประชาคม ASEAN+GMS AEC : เป็นหนึ่งในหลายกรอบความร่วมมือของเอเชีย AC in 2015 APEC 2020 FTAAP 2008 ASEAN Charter in effect AKFTA effective Jan 10 2007 CEBU Concord ASEAN Community by 2015 CEPEA/ EAC? AJCEP effective Jun 09 AANZFTA effective Jan 10 1998, AIA ACFTA effective Oct 03 1996, AFAS AIFTA signed Aug 09 Trade in goods effective Jan 10 ABMI – Aug 03 1993, AFTA ASEAN +6 1977, PTA CMI – May 00 SEATO 1954-1977 ASEAN -10 1967 -1999 ASEAN +3 1999 EAS 2005 ASEAN+6 2010 APEC 1993 ASEM 1995 2003 Proposed EAFTA ASEAN + 8

2. ประวัติความเป็นมาของ AC + GMS (ต่อ) ASEAN – Association of Southeast Asian Nations 1954 SEATO (South east Asia Treaty Organization – US initiative) 1967 ASEAN 5 (อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, ไทย) บรูไนเข้าร่วม ในปี 1984 1978 จีนเริ่มใช้ระบบเศรษฐกิจตลาดบางส่วน 1989 สิ้นสุดสงครามเย็น 1991 สหภาพโซเวียต แยกตัว การแผ่ขยายของระบบเศรษฐกิจตลาด + ประชาธิปไตย 1995 อาเซียนเริ่มขยายตัวจาก ASEAN 6 เป็น ASEAN 10 (เวียดนาม, 1995; ลาว, 1997; พม่า, 1997; กัมพูชา, 1999) 2008 มีกฎบัตรอาเซียนที่นำไปสู่การเป็นประชาคม ASEAN (ASEAN Community) 2015 ASEAN Community เศรษฐกิจ Free flow of goods and services + investment and professionals สังคม Social harmony มั่นคง Common security policy 8

2. ประวัติความเป็นมาของ AC + GMS (ต่อ) จาก ASEAN – 6 สู่ ASEAN -10 และผลกระทบต่อประเทศไทย ประเทศไทยใกล้ชิดกับ CLMV มากกว่า ภูมิศาสตร์ เป็นแผ่นดินใหญ่ด้วยกัน วัฒนธรรม รับอิทธิพลจากอินเดียและจีนใกล้เคียงกัน ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ / การเมือง ทำให้ห่างกัน เวียดนาม ลาว เขมร เป็นเมืองขึ้นฝรั่งเศส (1850 – 1946 + สงครามอินโดจีน – 1954) พม่าเป็นเมืองขึ้นอังกฤษ ((1855 -1888) – 1948)) สงครามเวียดนาม 1955 – 1975 สงครามเย็น ทุนนิยม VS สังคมนิยม (คอมมิวนิสต์) 1964 – 1989 CLMV มีธุรกิจกับนานาชาติน้อยจนสงครามเย็นยุติ CLMV เริ่มเปลี่ยนเป็นเศรษฐกิจระบบตลาด ตั้งแต่ 1990 จึงเริ่มเข้าเป็น สมาชิก ASEAN เมื่อรวม Yunnan กับ Guangxi กลุ่มนี้เป็น GMS เริ่ม 1992

2. ประวัติความเป็นมาของ AC + GMS (ต่อ) GMS -- Greater Mekong Subregion (1992) กัมพูชา, ลาว, พม่า, เวียดนาม, ไทย, ยูนนาน + กวางสี - จีน CLMV ความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้แนวทาง ของเศรษฐกิจระบบตลาด --- มี 9 สาขา คมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม พลังงาน การค้า การลงทุน การเกษตร สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงในพม่าตั้งแต่ปี 2010 ช่วยเร่งการ รวมตัวใน GMS (และ ASEAN) มุ่งเน้นการเชื่อมโยง (Connectivity) เป็นกลยุทธ์หลัก The 3rd Thai-Lao Bridge, opened on 11/11/2011

3. AC กับจุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย ASEAN 10 จัดได้เป็น Mainland ASEAN – C L M V T Maritime ASEAN – B I Ma Ph S ไทยเป็นศูนย์กลางของ Mainland ASEAN / GMS ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ / สังคมของไทย เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยเป็นภาคกลางของ ASEAN ภาคอีสาน / ภาคเหนือของไทย เป็นภาคกลางของ GMS ใกล้ชิดกับ CLMV และจีนตอนใต้มากขึ้น ภาคใต้ตอนล่างของไทย เป็นภาคเหนือของมาเลเซีย รับผลกระทบของเศรษฐกิจ สังคมมาเลเซีย (มุสลิม)

3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ) เกิดการขยายตัวของเมือง (Urbanization) ใกล้ชายแดน ห่างไกล กทม.อย่าง รวดเร็ว เกิดการเคลื่อนย้ายประชากร (migration) ที่สร้างโอกาสและปัญหา เกิดการพัฒนาและปัญหาเศรษฐกิจ / สังคม เหมือน / คล้ายกันทั่วประเทศไทย การทำงาน / อยู่อาศัย / จราจร การศึกษา / สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม / ขยะ อาชญากรรม / ยาเสพย์ติด ฯลฯ ฯลฯ ... จาก หนึ่งสัญชาติ / น้อยเชื้อชาติ เป็นสิบสัญชาติ / มากเชื้อชาติ ประชากร จาก 65 ล้านคน เป็นกว่า 600 ล้านคน GDP จาก US$ 400 B เป็น US$ 2400 B (ปี 2013) การเมือง จากมีพรมแดน (Bordered) เป็นไร้ / น้อยพรมแดน (Borderless, Less Border)

3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ) ความสามารถทางการแข่งขัน (Competitiveness) ความสามารถทางการแบ่งปัน (Compassionateness) ส่วนที่เป็น ASEAN แผ่นดินใหญ่ (Mainland) ไทยต้องให้ความสำคัญต่อการแบ่งปันมากกว่าการแข่งขัน ส่วนที่เป็น ASEAN ทางทะเล (Maritime) ไทยต้องให้ความสำคัญต่อการแข่งขันมากกว่าการแบ่งปัน

3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ) ภาคอีสาน / ภาคเหนือ เชื่อมโยงกับ ASEAN แผ่นดินใหญ่ (CLMV) ต้องมีบทบาทต่อการแบ่งปันมากกว่าแข่งขัน ต้องให้ความสำคัญต่อภาคสังคม มากกว่าหรือไม่น้อยกว่าภาค เศรษฐกิจ ภาคกลาง ต้องมีบทบาทในการสร้างความสามารถทางการแข่งขันของ ประเทศ พัฒนาอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยมี ASEAN เป็น เครือข่าย เป็นฐาน ฯลฯ

3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ) ลำดับความสำคัญของภาควิชาการ กลุ่มภาควิชา การศึกษา มนุษยศาสตร์ / สังคมศาสตร์ ศิลปกรรม / สถาปัตยกรรม และสิ่งแวดล้อม กลุ่มภาควิชา การแพทย์และพยาบาล / สาธารณสุข เภสัชกรรม กลุ่มภาควิชา การเกษตร เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ และบริหารจัดการ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมบทบาท การเรียนการสอน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใน ASEAN เน้นประเทศ CLMV + ให้ ทุนการศึกษา การขยายขอบข่ายบริการทางการแพทย์ และสาธารณสุข งานวิจัยที่มีมิติทางพื้นที่ (Area Study) ใน CLMVT+ โดยมีการร่วมงานกับนักวิจัยใน และนอกพื้นที่ งานให้คำปรึกษาและร่วมพัฒนาพื้นที่ (Area / Community Development) ทั้งมิติ ทางสังคมและเศรษฐกิจ งานพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

4. การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย สร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนา เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์สามวงเศรษฐกิจ 1 2 3 Sub-regional (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC) ASEAN Asia Pacific ASEAN+3 ASEAN+6 ~APEC For Expanded Economic Bases For Better Resources Allocation For Global Participation ความร่วมมือกับ GMS การเตรียมความพร้อมเรื่อง NTBs / NTMs AFAS MRA การเผยแพร่ความรู้ / ความเข้าใจเรื่อง ASEAN

4. การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย (ต่อ) ความเชื่อมโยง ความสามารถในการรองรับ กฎ ระเบียบการขนส่งสินค้า/ผู้โดยสาร ทักษะภาษาอังกฤษ ทักษะฝีมือแรงงาน / ผู้ประกอบการ มาตรฐานฝีมือ หลักสูตรการศึกษา เครือข่ายความร่วมมือกับประเทศสมาชิก 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ โลจิสติกส์ 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ 6. การ สร้างความรู้ ความเข้าใจและ ความตระหนัก ถึงการเป็นประชาคมอาเซียน 7. การเสริมสร้างความมั่นคง 8. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน 1. การเสริม สร้างความสามารถในการแข่งขัน ของสินค้า บริการ การค้า และ การลงทุน 2.การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ คุ้มครอง ทางสังคม การคุ้มครองแรงงาน สวัสดิการสังคม สภาพแวดล้อม วิสัยทัศน์ ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็ง และสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอาเซียนร่วมกัน พันธกรณี อำนวยความสะดวกการค้า การลงทุน ปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ ศักยภาพภาคการผลิต มาตรฐานสินค้าและบริการ ตลาดและฐานการผลิตเดียว ตระหนักรู้ทุกกลุ่มทุกวัย องค์ความรู้อาเซียน วัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก เมืองหลวง เมืองอุตสาหกรรม เมืองท่องเที่ยวบริการ เมืองการค้าชายแดน ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อนำไปสู่ภูมิภาคที่มีบรรทัดฐาน เอกภาพ และสันติภาพร่วมกัน ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558