ทุพภิกขภัย 1.นส.กชกร อ่วมบุญลือ ม.4/5 เลขที่ 9

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
ระบบประเมินผลกระทบความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมโรงงานอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
Formulation of herbicides Surfactants
เศรษฐกิจพอเพียง.
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
การค้ามนุษย์ ความหมายของการค้ามนุษย์ สภาพปัญหาของการค้ามนุษย์
บทที่ 2.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน
ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทุพภิกขภัย 1.นส.กชกร อ่วมบุญลือ ม.4/5 เลขที่ 9 1.นส.กชกร อ่วมบุญลือ ม.4/5 เลขที่ 9 2.นส.วรัญญา ดาทอง ม.4/5 เลขที่ 17 3.นส.พิมชนก บัวงาม ม.4/5 เลขที่ 15 4.นส.พร้อมวิภา จ้ำดา ม.4/5 เลขที่ 29 5.นส.ธิดารัตน์ ปรือทอง ม.4/5 เลขที่ 13

การป้องกัน การสนับสนุนเกษตรกรในพื้นที่ไม่มีความมั่นคงด้านอาหารผ่านมาตรการ 2.  การปฏิวัติสีเขียว ทำให้ลดภาวะทุโภชนาการลง 3. ลดราคาอาหารและเพิ่มค่าจ้างของผู้ทำงานในไร่นา

สาเหตุ 1. ภาวะการขาดแคลนอาหารอย่างกว้างขวาง ซึ่งนำไปสู่อัตราการตายที่เพิ่มสูงขึ้นมากในภูมิภาค 2. การที่ปริมาณอาหารลดลงอย่างรุนแรงเฉียบพลัน ทำให้เกิดความหิวโหย 3. การลดลงของระดับการบริโภคอาหารในประชากรจำนวนมาก 4. อัตราการตายสูงผิดปกติ อันเกิดจากภัยคุกคามรุนแรงแก่ปริปริมาณการบริโภคอาหารในประชากรบางส่วน 5. ชุดสภาพซึ่งเกิดขึ้นเมื่อประชากรจำนวนมากในภูมิภาคไม่สามารถได้รับอาหารเพียงพอ ทำให้เกิดภาวะทุโภชนาการรุนแรงอย่างกว้างขวาง

ผลกระทบ ผลกระทบด้านลักษณะประชากรของทุพภิกขภัยนั้นรุนแรงมาก การเสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นเด็กและผู้สูงอายุ ข้อเท็จจริงทางลักษณะประชากรที่สอดคล้องกัน คือ ในทุพภิกขภัยทุกครั้งที่มีการบันทึก อัตราการเสียชีวิตของชายจะสูงกว่าของหญิง เหตุผลสำหรับข้อเท็จจริงดังกล่าวอาจรวมถึงความเข้มแข็งของหญิงที่มากกว่าภายใต้ความกดดันของทุโภชนาการ และอาจเป็นธรรมชาติของหญิงที่มีไขมันร่างกายคิดเป็นเปอร์เซ็นต์สูงกว่าชาย ดังนั้น ทุพภิกขภัยจึงเหลือไว้แต่ประชากรวัยเจริญพันธุ์ หรือก็คือ หญิงผู้ใหญ่ ได้รับผลกระทบน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรกลุ่มอื่น ทุพภิกขภัยรุนแรงส่วนมากน้อยครั้งที่ลดอัตราการเกิดของประชากรเกินกว่าไม่กี่ปี อัตราการเสียชีวิตที่สูงถูกชดเชยด้วยประชากรที่เพิ่มขึ้นในเวลาไม่กี่ปี หากแต่ผลกระทบด้านลักษณะประชากรระยะยาวที่ใหญ่กว่า คือ การอพยพ อาทิ ไอร์แลนด์มีประชากรลดลงอย่างสำคัญหลังทุพภิกขภัยในคริสต์ทศวรรษ 1840 เพราะมีการอพยพออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก

การบรรเทาทุพภิกขภัย ภาวะขาดสารอาหารรองสามารถแก้ไขได้โดยการให้สารเสริมอาหาร อย่างเช่น เนยถั่วและ สไปรูไลนา ได้ปฏิวัติการให้อาหารฉุกเฉินในวิกฤตการณ์ทางมนุษยธรรม เพราะมันสามารถรับประทานได้ทันทีจากห่อบรรจุ และไม่จำเป็นต้องใช้ตู้เย็นหรือผสมกับน้ำสะอาดที่มีน้อยอยู่แล้ว สามารถเก็บได้หลายปี และที่สำคัญคือ ร่างกายของเด็กที่ป่วยหนักยังสามารถดูดซึมสารอาหารไปใช้ได้[การประชุมอาหารโลกของสหประชาชาติ ค.ศ. 1974 ประกาศว่าสไปรูไลนาเป็น "อาหารที่ดีที่สุดสำหรับอนาคต" และความพร้อมที่จะถูกเก็บเกี่ยวได้ทุก 24 ชั่วโมง นอกจากนั้น ยังมีการให้อาหารเสริม อย่างเช่น แคปซูลวิตามินเอหรือเม็ดสังกะสีในการรักษาอาการท้องร่วง[กลุ่มช่วยเหลือตระหนักมากขึ้นว่าการให้เงินสดหรือคูปองเงินสดแทนที่จะเป็นอาหารนั้นถูกกว่า

1 มกราคม พ.ศ.1965

ชาย หญิงและเด็ก ซึ่งทั้งหมดเสียชีวิตจากการขาดแคลนอาหารในรัสเซีย เมื่อ ค.ศ.1921