แนวคิดในการเขียนโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
ตัวอย่าง Flowchart.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
การจำลองความคิด
รหัสเทียม (Pseudo Code)
Surachai Wachirahatthapong
วิธีการทำงานของผังงาน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ โดย นางโสภาพรรณ ชื่นทองคำ โรงเรียนบ้านสันกำแพง
Week 12 Engineering Problem 2
Week 12 Engineering Problem 2
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Introduction : Principle of Programming
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Introduction ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
เ อกสารประกอบการสอนวิชา Computer Programming for Engineer ดร. นวภัค เอื้ออนันต์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดในการเขียนโปรแกรม เรื่อง แนวคิดในการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาได้ปัญหาหนึ่ง จนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ หากผู้เขียนโปรแกรมมี แนวคิดในการเขียนโปรแกรมที่ดี และทำการเขียนโปรแกรมตามแนวคิดที่ได้วางไว้ ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรมครั้งใดจะต้องปฏิบัติ ตามขั้นตอนเหล่านี้ โจทย์: จงเขียนโปรแกรมรับค่าเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวนและหาผลบวกของเลขทั้ง 2 จำนวนนั้น

1. วิเคราะห์ปัญหา (Analysis) ขั้นตอนนี้ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด ผู้เขียนโปรแกรมต้องวิเคราะห์ปัญหาให้ออกว่าจะต้องทำการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรือมองปัญหาผิดแล้ว จะทำให้เขียนโปรแกรมได้ผลลัพธ์ออกมาผิดไปจากสิ่งที่ต้องการด้วย และวิเคราะห์ข้อมูลที่จะนำเข้ามาใช้ในโปรแกรมมีอะไรบ้าง จากโจทย์ข้างต้น สามารถแตกปัญหาได้เป็น 2 ส่วน คือ - ต้องรับข้อมูลเลขจำนวนเต็ม 2 ตัวเข้ามาในโปรแกรม วิเคราะห์ กำหนดให้ X เก็บเลขจำนวนเต็มที่1 กำหนดให้ y เก็บเลขจำนวนเต็มที่2 - เลขจำนวนเต็มที่1 + เลขจำนวนเต็มที่2 มีค่าเท่ากับเท่าไร วิเคราะห์ กำหนดให้ sum เก็บค่าผลบวกของเลขจำนวนเต็มทั้ง 2 จำนวน นั่นคือ sum = x + y

2. วางแผนและออกแบบ (Planning & Design) การวางแผน คือ การนำปัญหาที่วิเคราะห์ได้จากขั้นตอนที่1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะต้องเขียน โปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาอย่างไร การวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนนี้ เรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) ซึ่งอัลกอริทึม แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ - ซูโดโค้ด (Pseudo code) คือ การเขียนอัลกอริทึมโดย ใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่าน แล้วเข้าใจได้โดยทันที จากโจทย์สามารถเขียนซูโดโค้ดได้ดังนี้

- ซูโดโค้ด (Pseudo code) คือ การเขียนอัลกอริทึมโดย ใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่าน แล้วเข้าใจได้โดยทันที จากโจทย์สามารถเขียนซูโดโค้ดได้ดังนี้ START READ X READ Y COMPUTE SUM = X+Y PRINT SUM STOP

โฟลวชาร์ต (Flowchart) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้สัญลักษณ์รูปภาพเป็นตัวสื่อความหมายจากโจทย์ สามารถเขียนโฟลวชาร์ตได้ดังนี้

3. เขียนโปรแกรม (Coding) เป็นการนำอัลกอริทึมจากขั้นตอนที่2 มาเขียนโปรแกรมให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์(syntax) ของ ภาษาซี จากโจทย์สามาเขียนโปรแกรมได้ดังนี้ ตัวอย่างแสดง ซอร์สโค้ด

2. วางแผนและออกแบบ (Planning & Design) การวางแผน คือ การนำปัญหาที่วิเคราะห์ได้จากขั้นตอนที่1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะต้องเขียน โปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาอย่างไร การวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนนี้ เรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) ซึ่งอัลกอริทึม แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ - ซูโดโค้ด (Pseudo code) คือ การเขียนอัลกอริทึมโดย ใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่าน แล้วเข้าใจได้โดยทันที จากโจทย์สามารถเขียนซูโดโค้ดได้ดังนี้