โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
การถนอมอาหาร.
สบู่สมุนไพร.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
โครงงานอาหารจีนหรรษา
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
เรื่อง การทำอาหารปลาจากธรรมชาติ
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
การปลูกพืชกลับหัว.
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
เกณฑ์ปฏิบัติสำหรับบริเวณที่นำมูลไปใช้ประโยชน์
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ โครงงาน เรื่อง...ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1.ด.ญ.จุฑามาศ ไชยช่วย เลขที่ 12 2.ด.ญ.อรวรรณ สิ้นขุนทด เลขที่ 18 3.ด.ญ.ศิรินภา รวมธรรม เลขที่ 20 4.ด.ช.ธุดงห์ ทองเจียว เลขที่ 5 5. ด.ช.กิตติศักดิ์ ขันธุลา เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูดนุภัค เชาว์ศรีกุล โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร สีพื้นหลังต้องเหมือนกัลหมด

1.กำหนดปัญหาหรือความต้องการ กลุ่มต้นกล้วยได้ไปสำรวจบริเวณแปลงสาธิตการเกษตรของโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรพบว่า ดินเป็นดินทราย ไม่อุ้มน้ำ พืชมีลำต้นเล็กแคระแกรน ใบมีสีเขียวปนสีเหลือง หัวข้อให้ทำเหมือนตัวอย่างและต้องมีตัวเลขด้วย ^^% จุดมุ่งหมาย เพื่อเพิ่มธาตุอาหารให้กับดินบริเวณแปลงสาธิตการเกษตร

2.รวบรวมข้อมูล กลุ่มต้นกล้วยได้รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ดังนี้ 1.สัมภาษณ์จากนายประยูร ทองบ่อ เกี่ยวกับเรื่องปุ๋ย วันที่(15/2/54) 2.ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ดังนี้ 2.1 การผลิตปุ๋ยคอก 2.2 การผลิตปุ๋ยหมัก 2.3 การผลิตปุ๋ยชีวภาพ 3.ศึกษาจากหนังสือ 108 สูตรการผลิตปุ๋ยชีวภาพ

3.ออกแบบและปฏิบัติการ

4.เลือกวิธีการ กลุ่มต้นกล้วยได้ศึกษาข้อมูลการฟื้นฟูสภาพดินพบว่า มีหลายวิธี เช่น การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกหญ้าแฝก การปลูกพืชคลุมดิน การทำปุ๋ยเป็นต้น ดังนั้น กลุ่มของพวกเราจึงเลือกการทำปุ๋ยเนื่องจาก เป็นวิธีที่ทำได้ด้วยตนเอง ส่วนผสมหาได้ง่าย มีในท้องถิ่น และประหยัดเวลากว่าวิธีอื่นๆ ACDSee Quick View

5.การปฏิบัติโครงงาน 1. ปุ๋ยคอก 1.1 ส่วนผสม มูลสัตว์ รำ กากน้ำตาล แกลบและน้ำ 1.2 ขั้นตอนการผลิต 1.ผสมมูลสัตว์แกลบเผา และรำเข้าด้วยกัน 2.นำปุ๋ยน้ำชีวภาพและกากน้ำตาลผสมน้ำ รดกองปุ๋ยให้ทั่วให้มีความชื้น 3.เกลี่ยกองปุ๋ยบนพื้นให้หนาไม่เกิน 15 ซ.ม. คลุมด้วยกระสอบทิ้งไว้นาน 3-5 วัน ไม่ต้องกลับกองปุ๋ย

ตารางบันทึกผลการทำปุ๋ยคอก วัตถุดิบ อัตราส่วน วิธีการทำ ผลการผลิต 1.แกลบดิบ 2.รำ 3.กากน้ำตาล 4.น้ำหมักEM 5.น้ำ 6.มูลวัว ½ กก. 1 กก. 5 ช้อนแกง 8 ฝา 1.25 ลิตร 2 กก. 1.นำแกลบ รำ มูลสัตว์ ผสมเข้าด้วยกัน 2.ใส่กากน้ำตาล น้ำและน้ำหมัก คลุกเคล้าให้เข้ากัน 3.คลุมด้วยกระสอบทิ้งไว้ 3-5 วัน ได้ปุ๋ยคอก มีลักษณะเป็นของผสมสีดำ

5.การปฏิบัติโครงงาน 2.ปุ๋ยพืชสด 1.นำเศษพืชผักมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ 2.รดน้ำลงไปหลังจากใส่เศษผัก ที่ต้นไม้

ตารางบันทึกผลการทำปุ๋ยพืชสด วัตถุดิบ อัตราส่วน วิธีการทำ ผลการผลิต เศษพืช ผัก 1 กล่องโฟม 1.นำพืชผัก มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ 2.รดน้ำลงไปหลังจากใส่เศษผักที่ต้นพืช ได้เศษผักที่เป็นชิ้นเล็กๆ นำไปใช้เป็นปุ๋ยได้ทันที

5.การปฏิบัติโครงงาน 3. ปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพ 1.ใช้เศษพืชผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารที่ยังไม่เน่า นำมาบดให้เป็นชิ้นเล็กๆใส่ภาชนะมีฝาปิด 2.ใส่กากน้ำตาลลงไป 1 ใน 3 ของน้ำหมัก ส่วนผสม เช่น เศษพืชผัก กากน้ำตาล และน้ำ 3.นำของหนักวางทับไว้แล้วปิดฝาทิ้งไว้ 5-7 วัน จะมีของเหลวสีน้ำตาลไหลออกมานั่นคือ น้ำสกัดชีวภาพกรอกใส่ขวดปิดฝาให้สนิท พร้อมที่จะนำมาใช้

ตารางบันทึกผลการทำปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพ วัตถุดิบ อัตราส่วน วิธีการทำ ผลการผลิต 1.เศษพืชผัก เศษอาหาร 2.กากน้ำตาล 3.น้ำ 2 กก. 1 กิโลกรัม ใส่ตามความเหมาะสม 1.ใช้เศษพืชผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารที่ยังไม่เน่า นำกลับมาหั่นให้เป็นชิ้นเล็กๆใส่ภาชนะที่มีฝาปิด 2.ใส่กากน้ำตาลลงไป 1 ใน 3 ของน้ำหมัก 3.นำของหนักวางทับไว้แล้วปิดฝาทิ้งไว้ 5-7 วัน 4.จะมีของเหลวสีน้ำตาลไหลออกมาคือน้ำสกัดชีวภาพกรอกใส่ขวดปิดฝาให้สนิทพร้อมที่จะนำมาใช้ ได้น้ำหมัก สีน้ำตาลเข้ม มีกลิ่นเหม็น

6.ปรับปรุงแก้ไข กลุ่มของพวกเราได้ใช้มูลไก่เป็นส่วนผสมในการผลิตปุ๋ยคอกพบว่า มูลไก่มีความเค็มมากและมีกลิ่นเหม็น กลุ่มของพวกเราจึงเปลี่ยนจากมูลไก่เป็นมูลวัว

7.สรุปผลการทดลอง ผลการทดลองผลิตปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพ พบว่า ปุ๋ยทั้งสามชนิดสามารถทำให้ผักบุ้งจีนมีลำต้นแข็งแรง ใบสีเขียว มีขนาดใหญ่ แต่ปุ๋ยที่สามารถเพิ่มแร่ธาตุให้แก่ดินได้ดีคือ ปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพเพราะทำให้ผักบุ้งจีนมีลำต้นสูงกว่าปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด

การคำนวณต้นทุนการผลิต(ปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพ) รายการ จำนวนเงิน 1.เศษ พืช ผัก - 2.กากน้ำตาล 10 3.ค่าแรง+ความคิด รวมต้นทุน 20 ขาย 25 กำไร 5 หมายเหตุ: ปุ๋ยน้ำสกัดชีวภาพ 1 ขวดมีปริมาตรสุทธิ 500 ซีซี

เสียงสะท้อนจากผู้เรียน 1.ได้ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ 2.ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 3.ปุ๋ยที่ผลิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง 4.ได้เรียนรู้วิธีการทำปุ๋ยผ่านการปฏิบัติจริงในรูปแบบกระบวนการเทคโนโลยี

บรรณานุกรม นายประยูร ทองบ่อ การทำปุ๋ย(สัมภาษณ์). อาชีพค้าขาย,เกษตรกร นายประยูร ทองบ่อ การทำปุ๋ย(สัมภาษณ์). อาชีพค้าขาย,เกษตรกร สูตรการทำปุ๋ยคอก(ออนไลน์). ม.ป.ป.(อ้างเมื่อ 10 มกราคม 2554). จาก http://www.thaibizcenter.com/knowledgecenter.asp?kid=2615 วิธีการทำปุ๋ยพืชสด(ออนไลน์). ม.ป.ป.(อ้างเมื่อ 10 มกราคม 2554). จาก http://www.doae.go.th/library/html/detail/pui/pui3.htm