การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตารางค่าความจริง คือ อะไร
Advertisements

การทดลองที่ 5 วงจรนับ (Counter)
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ลอจิกเกต (Logic Gate).
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
3) หลักการทำงาน และการออกแบบ
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
วงจรดิจิตอล Digital Circuits Wadchara.
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ASCII รหัสแอสกี (ASCII Code) หรือ American Standard Code for Information Interchange เป็นรหัสที่ มีการใช้แพร่หลายกันมากที่สุด เช่น ในไมโครคอมพิวเตอร์
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
Number Representations
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
PARITY GENERATOR & CHECKER
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
Arithmetic circuits Binary addition Binary Subtraction
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Flip-Flop บทที่ 8.
Introduction to Digital System
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
ASSIGN3-4. InstructionResult Z-FlagC-FlagP-FlagS-FlagO-Flag MOV AL,9Eh 9Eh H ????? ADDAL,9Eh 3C ADD AL,1Eh 5A
ความหมายของตัวเลขในหลักต่าง ๆ
Introduction to Computer organization & Assembly Language
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
Computer Coding & Number Systems
ระบบเลขฐาน (Radix Number)
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
Flip Flop ฟลิบฟล็อบ Flip Flop เป็น Multivibrator ชนิด Bistable คือ มี Output คงที่ 2 สภาวะ คำว่าคงที่ คือ คงอยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่งโดยไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะมี
ERROR (Data Link Layer)
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
โปรแกรมยูทิลิตี้.
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
Block Cipher Principles
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
ระบบเลขฐาน.
หน่วยที่ 2 ระบบตัวเลข.
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
รหัสคอมพิวเตอร์.
Introduction to Computer Organization and Architecture Introduction to Computer Organization and Architecture Episode 3 Numbers Representation.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2 บทที่ 7

การลบเลข กลับบิท แล้วบวกด้วย 1 ในคอมพิวเตอร์แท้จริงแล้วไม่สามารถลบได้ จะใช้การบวก ตัวลบ จะต้องมีการแปลงเป็น 2’s complement แล้วนำมาบวกกับตัวตั้ง วิธีหา 2’s complement กลับบิท แล้วบวกด้วย 1

วิธีหา 2’s complement 0111 1000 7 + 1 1001 0011 12 1100 + 1 0100

ทำการลบโดยการบวก กรณีตัวตั้งมากกว่าตัวลบ 12 - 7 1100 + 1001 10101 ตัดทิ้ง ได้ 1 แสดงว่า เป็นค่า + จะได้ 5

ทำการลบโดยการบวก กรณีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ 7 - 12 0111 + 0100 1011 1011 ได้ 0 แสดงว่า เป็นค่า - หา 2’s complement 0100 + 1 101 จะได้ -5

การสร้างวงจรลบ หากต้องการลบโดยไม่ใช้วิธี 2’s complement จะกล่าวถึง การประยุกต์ในภายหลัง (Full Subtractor)

ประโยชน์ของ 2’s complement ใช้แทนค่าลบของตัวเลขในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บใน RAM ใช้ signed bit 0 = ค่าลบ 1 = ค่าบวก signed bit สมมติว่าหน่วยความจำของเรามีขนาด 4 บิท จะได้ 24 = 16 ดังนั้น จะเหลือ 3 บิทเก็บข้อมูล ดังนั้นข้อมูลจริงๆมีจำนวน 23 = 8 0/1 xxx

24 = 16 ทั้งหมด 16 ค่า, 23 = 8 ค่า + และ - 24 = 16 ทั้งหมด 16 ค่า, 23 = 8 ค่า + และ - 0111 0110 0101 0100 0011 0010 0001 0000 1111 1110 1101 1100 1011 1010 1001 1000 7 6 5 4 3 2 1 -1 -2 -3 -4 -5 -6 -7 -8 + - 2’s complement

ถ้าหน่วยความจำ 8 บิทจะเก็บเลขได้เท่าไร ประกาศตัวแปร byte 28 = 256 หาร 2 ได้ 128 ดังนั้น ค่าบวกจะได้ = 0 ถึง 127 ค่าลบจะได้ –1 ถึง -128 127 01111111 … 00000001 00000000 11111111 10000001 10000000 int 16 บิท float 32 บิท -128

รหัส BCD Binary coded decimal ใช้แทนเลขฐาน 10 เลขฐาน 10 จำนวน 1 ตัว สร้างได้จากเลขฐาน 2 จำนวน 4 ตัว ตัวอย่าง 0100 0101 0101 0010 27 0010 0111 5 0100 0101

การตรวจสอบความผิดพลาดของ BCD code หากค่าเกิน 9 จะ ERROR (เลข 0-9) แก้ไขได้โดยบวกด้วย 6 เช่น 72 + 44 0111 0010 0100 0100 + 1011 0110 1011 + 0110 +6 ได้ 10001 1 1 6

Multiplexer แบบ 2 อินพุท เราสามารถนำข้อมูลจากหลายๆอินพุทมารวมกันให้ออกเป็น Output เดียวได้ เรียกว่า การ Multiplex วงจรที่ทำงานนี้คือ Multiplexer ใช้หลักการของการสลับข้อมูล ไปตามช่วงเวลาเล็กๆ 1 MUX 2 321 3

วงจร Multiplexer แบบ 2 อินพุท A ทำงานเป็น Address Input ซึ่งใช้เลือก Input ที่ต้องการส่งข้อมูล

การทำงาน อินพุทที่เราต้องการ Multiplex มี 2 ตัว ได้แก่ x1 และ x2 A ทำหน้าที่เลือกอินพุทที่จะส่งออกไป Output ดังนั้น หากเราส่งข้อมูลไปที่ A สลับกัน (0,1) ข้อมูลของ x1 และ x2 ก็จะสลับกันไปด้วย ในการส่งเราอาจส่งข้อมูลไปที่ A แบบสัญญาณนาฬิกาก็ได้ แต่ข้อมูลทั้งหมดจะต้องเข้าจังหวะกัน (Synchronize)

สัญญาณ Clock เป็นสัญญาณแรงดันไฟฟ้าขึ้นและลง ตามช่วงเวลาที่คงที่ สัญญาณ 0 และ 1 สลับกัน

วงจร Multiplexer แบบ 4 อินพุท ใช้ A, B ในการเลือกอินพุท

2-to-4 Demultiplexer

ทำการทดลอง ให้ลองต่อวงจร Multiplexer และ Demultiplexer ตามรูปที่แสดงมาแล้ว

การทำงาน ข้อมูลเข้ามาที่ IN A และ B เป็นตัวเลือกว่าจะส่งไปออกที่ Output ตัวไหน A และ B นี้จะนำไป Synch กับ A และ B ที่ตัว Multiplexer