ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
การเขียนผังงาน.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 2 Operator and Expression
รับและแสดงผลข้อมูล.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
Surachai Wachirahatthapong
Operators ตัวดำเนินการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
Operators ตัวดำเนินการ
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
อ. วชิระ หล่อประดิษฐ์. ตัว ดำเนินกา ร ศัพท์เฉพาะตัวอย่ าง ผลลัพธ์ ให้ a=3; b=2; Greater thana > b;True
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
CHAPTER 2 Operators.
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม บทที่ 2

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมจะเริ่มต้นด้วยการเขียนผังงาน หรือ Flowchart เป็นพื้นฐานของการพัฒนาโปรแกรม เพื่อใช้พัฒนาโปรแกรมในอนาคต และเป็นตัวทำให้เข้าใจโปรแกรมได้ง่ายยิ่งขึ้น

ผังงาน หรือ Flowchart หมายถึง แผนภาพแสดงการทำงานของโปรแกรม หรือ การไหล โดยใช้สัญลักษณ์รูปภาพแสดงขั้นตอนการทำงานต่างๆ

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน เริ่มต้น และสิ้นสุดโปรแกรม การประมวลผล กำหนดตัวแปร การตัดสินใจ แสดงผล โดยไม่ระบุสื่อ เรียกใช้โปรแกรมย่อยจากภายนอก พิมพ์ข้อมูลทางเครื่องพิมพ์

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน รับค่าผ่านทางคีย์บอร์ด เชื่อมต่อระหว่างหน้า แสดงผลทางจอภาพ เส้นทางการทำงานของโปรแกรม

หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน เริ่มต้นด้วย และจบด้วย เส้นทางการทำงานจะเริ่มจากบนลงล่าง และซ้ายไปขวา เส้นทางการทำงานไม่ควรทับกัน โยงเป็นระเบียบ ภาพสัญลักษณ์มีขนาดต่างกันได้ แต่ควรเหมือนกับมาตรฐาน START END

ตัวอย่างการเขียนผังงาน ผังงานสำหรับรับข้อมูล รหัส ชื่อ ยอดขาย และคำนวณโบนัส โดย ขายได้ < 10000 ได้โบนัส 3% แต่ถ้าขายได้ >= 10000 ได้โบนัส 5% และแสดงออกทางจอภาพ

N Y bonus Id,name,sale,bonus Id,name,sale,bonus Id,name,sale,bonus START Id,name,sale,bonus Id,name,sale,bonus N Y Sale >=10000 Id,name,sale,bonus Id,name,sale,bonus bonus END

ตัวดำเนินการ หรือ Operator คือเครื่องหมายที่ใช้เชื่อมต่อระหว่าง นิพจน์ หรือ ตัวแปร อย่างน้อย 2 ตัวขึ้นไป โดยที่ตัวกระทำ หรือ ถูกกระทำเรียกว่า โอเปอร์แรนต์ (Operand)

ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ + - * / ^ Mod \ บวก เช่น 10+5=15 ลบ เช่น 20-12=8 คูณ เช่น 5*3=15 หาร เช่น 10/5=2 เลขยกกำลังเช่น 3^2=9 หารเก็บเฉพาะเศษ เช่น 9 Mod 2 = 1 หารเก็บเฉพาะจำนวนเต็ม เช่น 9\2 = 4

ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ And : T and T = T นอกนั้นเป็น F หมด OR : F or F = F นอกนั้นเป็น T หมด Xor : เหมือนกันเป็น F ต่างกันเป็น T Not : จะให้ค่าที่เป็นตรงข้าม // T คือ True=ค่าความจริงเป็นจริง F คือ False

ตัวดำเนินการทางการเปรียบเทียบ = เท่ากับ <> ไม่เท่ากับ < น้อยกว่า > มากว่า <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ >= มากว่าหรือเท่ากับ Sex=“ชาย” Flag <> true Salary < 15000 Salary > 15000 Salary <= 15000 Salary >= 15000