การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
สถิติ.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
Minitab for Product Quality
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การแจกแจงปกติ.
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
หลักการแปลผล สรุปผล II
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง เอกสารหน้า 1-3 การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง สถิติที (t) ทดสอบได้เฉพาะค่าเฉลี่ยไม่เกินสองกลุ่ม แต่การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) สามารถทดสอบค่าเฉลี่ยได้ตั้งแต่ 2 กลุ่มเป็นต้นไป ANOVA มีตารางที่สำคัญดังนี้คือ ตาราง Descriptives ตาราง Test of Homogeneity of Variances ตาราง ANOVA ตาราง Multiple Comparisons ตาราง Homogeneous Subsets

เอกสารหน้า 4 ตาราง จากตาราง Descriptives ตัวแปร X แบบที่ 1 จำนวน 5 หน่วย มีค่าเฉลี่ย 72.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 14.0961 ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 6.3040 ช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยเป็นดังนี้ ขอบต่ำคือ 54.6974 ขอบสูงคือ 89.7026 โดยค่าต่ำสุดคือ 51 และค่าสูงสุดคือ 85

ถ้าความแปรปรวนของประชากรแตกต่างกันแล้ว เอกสารหน้า 4 หลักการทดสอบ ถ้าความแปรปรวนของประชากรแตกต่างกันแล้ว แปลว่าสถิติ ANOVA ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้กับข้อมูลชุดนี้ ควรเลือกใช้วิธีไม่อิงพารามิเตอร์ (Nonparametric methods) ในที่นี้ความแปรปรวนของประชากรไม่แตกต่างกัน ดังนั้น จึงสามารถใช้สถิติ ANOVA ทดสอบค่าเฉลี่ยต่อไปได้ ขั้นตอนต่อไปคือ ให้พิจารณาตาราง ANOVA ดังต่อไปนี้ ตาราง จากตาราง Test of Homogeneity of Variances ถ้า Sig. มีค่าเกินระดับนัยสำคัญที่กำหนดแล้ว แปลว่าความแปรปรวนของประชากรไม่แตกต่างกัน แต่ถ้าค่า Sig. < ระดับนัยสำคัญ แปลว่าความแปรปรวนของประชากรแตกต่างกัน ในที่นี้ค่า Sig.=0.181 ซึ่งมีค่าเกินกว่าระดับนัยสำคัญ 0.05 ดังนั้นจึงสรุปว่าความแปรปรวนของประชากรไม่แตกต่างกัน

ถ้าค่าเฉลี่ยของประชากรไม่แตกต่างกันแล้ว เอกสารหน้า 5 ตาราง ถ้าค่าเฉลี่ยของประชากรไม่แตกต่างกันแล้ว ก็ยุติการทดสอบเพียงเท่านี้ แต่ในที่นี้ค่าเฉลี่ยของประชากรแตกต่าง ดังนั้นจึงต้องตรวจสอบต่อไป โดยจะดูตาราง Multiple Comparisons ว่ามีค่าเฉลี่ยคู่ใดบ้างที่แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้ จากตาราง ANOVA ถ้า Sig. มีค่าเกินระดับนัยสำคัญที่กำหนดแล้ว แปลว่าค่าเฉลี่ยของประชากรไม่แตกต่างกัน ไม่เช่นนั้น แปลว่าค่าเฉลี่ยของประชากรแตกต่างกันอย่างน้อยหนึ่งคู่ ในที่นี้ค่าพีคือ Sig. = 0.009 ซึ่งมีค่าไม่เกินกว่าระดับนัยสำคัญ 0.05 ดังนั้น จึงสรุปว่าค่าเฉลี่ยของประชากรแตกต่างกันอย่างน้อยหนึ่งคู่

ตาราง Multiple Comparisons เอกสารหน้า 5 ตาราง Multiple Comparisons ถ้าค่าเฉลี่ยของประชากรแตกต่างกันแล้ว จะมีสัญลักษณ์ "*" ปรากฏอยู่ที่มุมขวาบนของผลต่าง ในที่นี้เลือกใช้สถิติ Scheffe และเลือกระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ปรากฏว่าคู่ที่มีความแตกต่างกันมีสองคู่คือ แบบที่ 2 กับแบบที่ 3 และ แบบที่ 3 กับแบบที่ 4

ตาราง Homogeneous Subsets เอกสารหน้า 6 ตาราง Homogeneous Subsets ค่าเฉลี่ยที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โปรแกรม จะจัดให้อยู่ในเซตเดียวกัน ในที่นี้โปรแกรมจัดได้ 2 เซตย่อยคือ แบบที่ 1 อยู่ทั้งในเซตที่ 1 และ เซตที่ 2 เซตที่ 1 มี 3 กลุ่มประกอบด้วย แบบที่ 2 แบบที่ 4 และแบบที่ 1 เซตที่ 2 มี 2 กลุ่มประกอบด้วย แบบที่ 1 และแบบที่ 3