Introduction to C Introduction to C.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
Introduction to C Programming
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Department of Computer Business
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Introduction to C Programming.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 3: Review and Exercises
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Surachai Wachirahatthapong
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
โครงสร้าง ภาษาซี.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to C Introduction to C

Programming language ภาษาโปรแกรม คือ คำสั่งที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคำสั่ง ภาษาที่คอมพิวเตอร์รู้จัก เรียกว่าภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งอยู่ในรูปเลขฐาน 2 ยากต่อการเขียน, แปลความหมาย, ทำความเข้าใจ ภาษาโปรแกรมระดับสูง - ภาษาโปรแกรมที่พัฒนาเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเขียนและทำความเข้าใจได้โดยง่าย จากนั้นจึงนำไปแปลงเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง (ผ่าน Compiler, Interpreter) Introduction to C

C Programming เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่มีการใช้งานแพร่หลาย การสร้างโปรแกรมภาษาซี เริ่มจาก ใช้ text editor พิมพ์ source code ของโปรแกรมที่ถูกต้องตามหลักภาษา นำ source file ที่เขียนเสร็จแล้วมา compile โดยใช้ C compiler ถ้ามีข้อผิดพลาดต้องแก้ไข source code และ compile ใหม่จนไม่มีข้อผิดพลาดขึ้นอีก ผลลัพธ์จะได้เป็น object file (รหัสเชิงวัตถุของคำสั่ง) Introduction to C

นำ object file มา link กับ library ของภาษา (เป็นการดึงเอาชุดคำสั่งที่เขียนเตรียมไว้สำหรับการทำงานของ object code) ผลลัพธ์ที่ได้เป็น execute file execute file ที่ได้จะเป็นคำสั่งภาษาเครื่องที่สามารถนำไปใช้งาน (run) ได้ทันที โดยไม่ต้อง compile ซ้ำอีก ปัจจุบัน มี tools ที่รวมเอา text editor + compiler + linker เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการพัฒนาภาษาซี (และใช้ในการเรียนการสอนวิชานี้ด้วย) คือ Turbo C compiler Introduction to C

Library (header file , *.h) Text editor create Source file (*.c) Error C compiler Object file (*.obj) Library (header file , *.h) C linker Execute file (*.exe) Introduction to C

ลักษณะของโปรแกรมภาษาซี Bitwise Control – จัดการข้อมูลได้ถึงระดับบิต (bit) ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในการเก็บข้อมูล ทำงานในระดับฮาร์ดแวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Pointer Implementation – มีตัวแปรชนิดตัวชี้ (pointer) จัดการกับหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง Case Sensitive – อักษรตัวใหญ่กับอักษรตัวเล็กมีความหมายต่างกัน ตัวแปร var1 กับตัวแปร Var1 เป็นคนละตัวแปรกัน main() กับ Main() เป็นคนละฟังก์ชันกัน Introduction to C

การเว้นบรรทัดหรือเขียนคำสั่งไม่ต่อเนื่องกันไม่มีผลต่อการคอมไพล์โปรแกรม ปิดท้ายคำสั่งด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) – ใช้เครื่องหมาย ; ในการแยกคำสั่งแต่ละคำสั่งออกจากกัน การเว้นบรรทัดหรือเขียนคำสั่งไม่ต่อเนื่องกันไม่มีผลต่อการคอมไพล์โปรแกรม Structure language – มีลักษณะเป็นโครงสร้าง ดังนั้นจึงสามารถใช้คำสั่งควบคุมโครงสร้าง (Control structure) ได้ Procedural language – สามารถเขียนโปรแกรมเป็นลักษณะ module (แบ่งโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ ที่ทำงานในส่วนของตัวมันเอง) ได้ ซึ่งจะเรียกว่า function Introduction to C

โครงสร้างของภาษา C Preprocessor #include <stdio.h> Header void main() { /* display message */ printf(“Hello World”); } Header Comment Statement Function Introduction to C

อยู่ตอนต้นของโปรแกรม โดยอยู่นอกส่วนฟังก์ชัน 1. ส่วนหัว (Header) อยู่ตอนต้นของโปรแกรม โดยอยู่นอกส่วนฟังก์ชัน คำสั่งที่ใช้กำหนดค่าหรือกำหนดตัวแปรของโปรแกรม แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน 1.1 Preprocessor statement คำสั่งที่จะได้รับการทำก่อนที่จะมีการคอมไพล์โปแกรม คำสั่งจะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # ตัวประมวลผลก่อนที่สำคัญของภาษาซีแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ #define และ #include Introduction to C

จัดเก็บใน header file (*.h) เช่น stdio.h, string.h ฯลฯ 1.1.1 #include ใช้เรียกใช้งานฟังก์ชันมาตรฐานที่ผู้ผลิตคอมไพเลอร์ได้จัดเตรียมไว้ให้ (Library) จัดเก็บใน header file (*.h) เช่น stdio.h, string.h ฯลฯ มักจะเกี่ยวข้องกับการรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูล การคำนวณ ฯลฯ เช่นคำสั่ง printf() ซึ่งเป็นคำสั่งที่ใช้แสดงข้อความออกทางอุปกรณ์แสดงผล (เช่น จอภาพ) printf() เป็นคำสั่ง (ฟังก์ชัน) มาตรฐานที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่ม standard input output ดังนั้น จึงต้องมีการเรียกคำสั่ง #include <stdio.h> Introduction to C

คำสั่งประเภท preprocessor ไม่ต้องมี ; ปิดท้ายคำสั่ง 1.1.2 #define ใช้กำหนดค่าคงที่ให้แก่โปรแกรมก่อนจะนำไปคอมไพล์ #define pi 3.14159 - กำหนดให้ idenfier ชื่อ pi แทนที่ด้วยค่าคงที่ 3.14159 #define pi “3.14159” - แทนที่ด้วยค่าคงที่ที่เป็น string “3.14156” ไม่ใช่ตัวเลข คำสั่งประเภท preprocessor ไม่ต้องมี ; ปิดท้ายคำสั่ง 1.2 Declaration statement ส่วนของการประกาศตัวแปร (GLOBAL Variable) ส่วนของการประกาศโปรโตไทป์ Introduction to C

คือส่วนของคำสั่งที่บอกให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่าง ๆ 2. ฟังก์ชัน (Function) คือส่วนของคำสั่งที่บอกให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่าง ๆ ในฟังก์ชันประกอบด้วยคำสั่ง (statement) ต่าง ๆ ภาษาซีประกอบด้วยฟังก์ชันย่อยหลาย ๆ ฟังก์ชัน แต่ต้องมีฟังก์ชันหลักฟังก์ชันหนึ่งที่ชื่อว่า ฟังก์ชัน main() โดยที่การทำงานของโปรแกรมจะเริ่มจากฟังก์ชันนี้เสมอ Introduction to C

ในภาษาซี เราสามารถใส่คำอธิบายโปรแกรม (comment) บริเวณไหนก็ได้ ขอบเขตของคอมเมนต์จะเริ่มตั้งแต่เครื่องหมาย /* จนถึงเครื่องหมาย */ ข้อความใด ๆ ที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายดังกล่าวจะไม่ถูกแปลโดยคอมไพเลอร์ หรือถ้าต้องการคอมเมนต์ทั้งบรรทัด จะใช้เครื่องหมาย // วางไว้หน้าบรรทัดที่ต้องการให้เป็นคอมเมนต์ Introduction to C

การใช้โปรแกรมเทอร์โบซี โปรแกรมอยู่ใน c:\tc ไฟล์ที่ใช้ run โปรแกรมอยู่ใน c:\tc\bin\tc.exe ... ดูรายละเอียดส่วนประกอบต่างๆ จากโปรแกรมจริง Introduction to C

Ex. 1 /* A first program in C */ #include <stdio.h> int main() { // print message “hello world” to screen printf(“Hello world\n”); return 0; // indicate end program } Introduction to C