Flow Through a Venturi September 8th, 2009
Members นางสาวพรรัชดา กุลราช ID. 5030351621
Introduction
Introduction
Introduction Motivation สนใจการวัดอัตราการไหลของของไหลโดยการใช้เวนทูรี อาศัยหลักการของสมการของแบร์นูลลีในการคำนวณ
Introduction Objective หาความสัมพันธ์ทางทฤษฎีระหว่างอัตราการไหลกับผลต่างของความดันของของไหล วิเคราะห์ความถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการไหลจริงตามนิยาม หาค่า Discharge coefficient
Theory Governing Equation 1 2
Theory Theoretical Volumetric Flow rate Definition of Volumetric Flow rate
Experiment Setup Interesting Zone
Experiment Setup Experimental Instruments
Experiment Setup Experimental Instruments (cont.)
Experiment Setup Experimental Instruments (cont.)
Experiment Setup Experimental Instruments (cont.)
Experiment Setup Experimental Procedure ปรับความเร็วรอบของมอเตอร์เครื่องสูบน้ำ เพื่อให้เห็นความสูงของน้ำในหลอดมานอมิเตอร์อย่างชัดเจน ปิดวาล์วที่แทงค์เก็บน้ำ เพื่อกักน้ำไว้ในแทงค์ พร้อมทั้งจับเวลาเมื่อปริมาณน้ำขึ้นมาจนถึง 0 และหยุดเมื่อถึง 5 (หน่วยลิตร) และจดบันทึกเวลา
Experiment Setup Experimental Procedure (cont.) บันทึกความสูงของน้ำในหลอดมานอมิเตอร์ซึ่งเป็นความดันขาเข้า ของ เวนทูรี และหลอดมานอมิเตอร์ซึ่งเป็นความดันตำแหน่งคอคอดตรงกลางของเวนทูรี เปิดวาล์วที่แทงค์เก็บน้ำ เพื่อระบายน้ำออกจากแทงค์ ทำการทดลองซ้ำอีก 4 ครั้ง และเปลี่ยนความเร็วรอบของมอเตอร์เครื่องสูบน้ำ เพื่อจะได้ผลการทดลอง 5 ชุด
Results Cd = (SlopeA / SlopeT) = 0.95
Discussion กราฟทั้งสองที่ได้จากการทดลองเป็นเส้นตรง กราฟทั้งสองที่ได้จากการทดลองมีความชันใกล้เคียงกัน กราฟทั้งสองถือได้ว่าผ่านจุดกำเนิด จากเหตุผลดังกล่าว แสดงว่า อัตราการไหลทางทฤษฎีสามารถใช้ทำนายค่าอัตราการไหลจริงได้
Conclusion กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลกับความแตกต่างของความดันของของไหล (รากที่สองของผลต่างความสูงของของไหลในมานอมิเตอร์) เป็นกราฟเส้นตรง อัตราการไหลทางทฤษฎีอยู่ในช่วงความคลาดเคลื่อนของอัตราการไหลจริง ค่า Discharge coefficient เท่ากับ 0.95